Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การป้องกันปัญหาสุขภาพมารดาหลังคลอด, ั, ู, ก, ้ - Coggle Diagram
การป้องกันปัญหาสุขภาพมารดาหลังคลอด
การพยาบาลเพื่อป้องกันการตกเลือดหลังคลอด
การดูแลให้มดลูกหดรัดตัวดี
กระตุ้นให้บุตรดูดนมมารดา
แนะนำและดูแลให้ปัสสาวะ
สังเกตตำแหน่งของยอดมดลูกและวัดระดับความสูงของยอดมดลูก
สังเกตและตรวจลักษณะของปริมาณ สี กลิ่น ของน้ำคาวปลา
ดูแลและแนะนำการคลึงมดลูก
จัดท่านอนศีรษะสูงหรือนอนคร่ำใช้หมอนรองใต้ท้องน้อย
Vital sign
การดูแลฝีเย็บและผนังช่องคลอด
Vital sign
แนะนำให้รับประทานอาหาร
ขมิบกล้ามเนื้อบริเวณช่องคลอด
ดูแลชำระฝีเย็บด้วยความนุ่มนวล
ประเมินสภาพแผลฝีเย็บและแผลที่ผนังช่องคลอด
การพยาบาลเพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวดหลังคลอด
การพยาบาลเพื่อบรรเทาอาการปวดมดลูก
วางกระเป๋าน้ำเย็นบนท้องน้อย
ประคองกล้ามเนื้อท้องน้อยด้วยหมอนหรือมือหรือผ้ารัดท้องน้อย
แนะนำการหายใจ
คลึงมดลูกด้วยความนุ่มนวล
จัดให้มารดานอนพักศีรษะสูง
ยาแก้ปวด
การพยาบาลเพื่อบรรเทาอาการปวดเเผลฝีเย็บ
ชำระฝีเย็บ
แนะนำเทคนิคการผ่อนคลายความเจ็บปวด
หลีกเลี่ยงการเสียดสีฝีเย็บ
ประคบฝีเย็บด้วยความเย็น
พักผ่อนท่านอนตะแคงด้านตรงข้ามที่มีแผลฝีเย็บ
ขมิบก้นและฝีเย็บ
สังเกต Hematoma
ยาแก้ปวด
การส่งเสริมสุขภาพด้าน ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและ
จิตวิญญาณ
การพักผ่อนและการทำงาน
การมีเพศสัมพันธ์ในระยะหลังคลอด
อาหารและอาหารที่ควรงด
การบริหารร่างกายหลังคลอด
ท่าที่ 1 ช่วยลดไขมันหน้าท้อง
ท่าที่ 2 ช่วยลดหน้าท้อง
ท่าที่ 3 การบริหารทรวงอก ทำให้เต้านมผลิตน้ำนม
ได้มากขึ้น
ท่าที่ 4 การบริหารกล้ามเนื้อสะโพก ทำให้ลดไขมันหน้าท้อง
ท่าที่ 5 การบริหารกล้ามเนื้อหน้าท้องและสะโพก
ท่าที่ 6 ลดอาการบวม ความไม่สุขสบายบริเวณฝี เย็บ
และเพิ่มความสามารถควบคุมกล้ามเนื้อ
ท่าที 7 ทำให้น้ำคาวปลาไหลสะดวก มดลูกกลับเข้าสู่สภาพเดิมเร็วขึ้นและลดอาการปวดมดลูก
การวางแผนครอบครัวในระยะหลังคลอด
การมีประจำเดือน
การมาตรวจตามนัด
อาการผิดปกติที่ควรมาโรงพยาบาล
การดูแลบุตร
การมารับการตรวจ
ให้ภูมิคุ้มกัน
การสังเกตอาการผิดปกติ
การอาบน้ำ
การให้นมบุตร
การดูแลบุตรทั่วไป เช่น สะดือ การขับถ่าย การนอนหลับ การดูแลผิวหนัง
การส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่าง
บิดา มารดา ทารกและครอบครัว
การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างมารดาทารกหลังคลอด
การสัมผัส (Touch)
การประสานสายตา (Eye - to - eye contact)
การใช้เสียงแหลมสูง (High - pitched voice)
การเคลื่อนไหวตามเสียงพูด (Entrainment)
การให้เวลาและความมั่นคง(Time Giver)
การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างมารดาทารกหลัง
คลอด
การรับกลิ่น (Oder)
การให้ความอบอุ่น (Heat)
.ให้ภูมิคุ้มกันทางน้ำนม
การให้ภูมิคุ้มกันในระบบทางเดินหายใจ
วัตถุประสงค์ของการพยาบาลมารดาในระยะหลังคลอด
ส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างมารดา – บิดาและทารก ครอบครัว
สังเกตการเปลี่ยนแปลงทั ้งด้านร่างกาย และจิตใจ
ลดความวิตกกังวลและสร้างความมั่นใจ
เพื่อส่งเสริมการทำหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของร่างกาย
ส่งเสริมการดูแลตนเองและทารก
ลดความไม่สุขสบายในระยะหลังคลอด
บทบาทของพยาบาลในการส่งเสริมสัมพันธภาพ
ระหว่างมารดาทารกหลังคลอด
จัดให้มารดาได้อยู่กับบุตรโดยเร็ว (R)
มารดาและบุตรอยู่ด้วยกันในระยะสองสามวันแรกคลอด
ให้กำลังใจ
ให้คำปรึกษา
ให้มารดามาเยี่ยมทารกขณะอยยู่โรงพยาบาล (กรณีบุตรป่วย)
ติดต่มเยี่ยมบ้านเป็นระยะ
ั
ู
ก
้