Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลด้านจิตสังคมสำหรับผู้ประสบสาธารณภัย - Coggle Diagram
การพยาบาลด้านจิตสังคมสำหรับผู้ประสบสาธารณภัย
การปฐมพยาบาลด้านจิตใจ
ปฏิกิริยาทางจิตใจที่เกิดขึ้นหลังเกิดเหตุการณ์วิกฤต
ปฏิกิริยาทางจิตใจแบบช็อคและปฏิเสธ (Shock & Denial)
มึนงง สับสน หลงลืมจำอะไรไม่ได้ ใจสั่น มือสั่น ตัวสั่น
ปฏิกิริยาทางจิตใจแบบโกรธ (Anger)
ตะโกนด่า กระวนกระวายเดินไปมา ทำร1าย
ตนเองหรือขว้างของรอบตัว กล่าวโทษแก่บุคคลอื่น
ตาขวาง มือปากสั่น
ปฏิกิริยาทางจิตใจแบบต&อรอง (Bargaining)
พูดรุกเร้าขอให้ช่วย ขอเข้าไปดู/เยี่ยมญาติ เรียกร้องหรือต่อรอง ไม่สามารถยอมรับความจริงที่เกิดขึ้นได้
ปฏิกิริยาทางจิตใจแสดงอารมณ์เศร้า (Depression)
การร้องไห้ เสียใจ ปากสั่น ไม่พูดจา หมดเรี่ยวแรง
ปัญหาที่เกิดขึ้นในผู้ประสบภาวะวิกฤต
ด้านจิตใจ
เกิดอาการหวาดกลัว/หวาดผวา ไม่สามารถกลับไปใช้ชีวิตและทำงานเหมือนอย่างเดิมได้
ด้านร่างกาย
ร่างกายอ่อนแอ การพักผ่อนไม่เพียงพอ ตื่นนอนกลางดึก หลับๆ ตื่นๆ
ด้านพฤติกรรม
ไม่สนใจดูแลตนเองและสิ่งแวดล้อม แยกตัวออกจากสังคม ขาดปัจจัย 4 การติดยาหรือสารเสพติด
PFA ด้วยหลักการ EASE
Assessment: A
ประเมินและตอบสนองความต้องการทางด้านร่างกาย
การประเมินสภาพจิตใจ
ผู้ประสบภาวะวิกฤตอยู่ในภาวะช็อกและปฏิเสธ
ผู้ประสบภาวะวิกฤตอยู่ในภาวะต่อรอง
การประเมินภาวะฆ่าตัวตาย
ผู้ประสบภาวะวิกฤตอยู่ในภาวะโกรธ
ประเมินความต้องการทางสังคม
Skills: S
การฝึกกำหนดลมหายใจ (Breathing exercise)
Touching skill (การสัมผัส)
ทักษะการ Grounding
การนวดสัมผัส และ การนวดกดจุดคลายเครียด
การลดความเจ็บปวดทางใจ
1) การฟังอย่างใส่ใจ (Active Listening)
2) การสะท้อนความรู้สึก
3) การเงียบ
4) การทวนซ้ำ
การเสริมสร้างทักษะ
Engagement: E
การสังเกตภาษาท่าทางและพฤติกรรม
Verbal
พูดสับสนฟังไม่รู้เรื่อง ด่าทอ ร้องขอความช่วยเหลือ พูดซ้ำไปซ้ำมา พูดวกวน
Nonverbal
กำมือ มือไขว่ตว้า ผุดลุกผุดนั่ง ลุกลี้ลุกลน น้ำเสียงกรีดร้อง ตะโกน
การสร้างสัมพันธภาพ
ไม่ยิ้มในขณะที่อีกฝ่ายเศร้าแม้ว่าต้องการจะยิ้มเพื่อให้กำลังใจก็ตาม ไม่พยายามฝืน
ความรู้สึกของผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤตเมื่อเขายังไม่พร้อม
การสื่อสาร
ถามว่า “ตอนนี้รู้สึกเป็นอย่างไรบ้าง” เพื่อให้พูดระบายความรู้สึก
Education
ต.1 ตรวจสอบความต้องการ
ต.2 เติมเต็มความรู้
ต.3 ติดตามต่อเนื่อง
การช่วยเหลือเยียวยาจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤตของทีม MCATT
ระยะเตรียมการ
เพื่อรองรับสถานการณ์วิกฤตต่างๆ อย่างทันท่วงทีจำเป็นต้องเป็นเตรียมความพร้อมทั้งระดับบุคคล องค์กรและชุมชน
การให้การปฐมพยาบาลทางจิตใจ (Psychological First Aid : PFA)
การช่วยเหลือ ทางจิตใจและสังคมในภาวะวิกฤต (Crisis Intervention)
การบำบัดทางพฤติกรรมความคิด (Cognitive Behavior Therapy : CBT)
การช่วยเหลือด้านสุขภาพจิตตามแบบ Satir
ระยะวิกฤตและฉุกเฉิน (ภายใน 72 ชั่วโมงแรกหลังเกิดเหตุ - 2 สัปดาห์)
ระยะวิกฤต (ภายใน 72 ชั่วโมงแรกหลังเกิดเหตุ)
การช่วยเหลือจะมุ่งให้ความช่วยเหลือเฉพาะหน้า เน้นการช่วยเหลือตามสภาพความเปfนจริงทั้งด้านร่างกาย ความ
ต้องการพื้นฐาน
ระยะนี้เป็นระยะที่
สำคัญต้องให้การปฐมพยาบาลด้านจิตใจแก่ผู้ประสบภาวะวิกฤต (PFA) และให้การช่วยเหลือที่ตรงตามความต้องการ
ระยะฉุกเฉิน (72 ชั่วโมง - 2 สัปดาห์)
สำรวจหาข้อมูลของสถานการณ์ และความต้องการของ ผู้ประสบภาวะวิกฤตได้ชัดเจนมากขึ้น เพื่อวางแผนในการให1ความช่วยเหลือได้ตรงกับความต้องการของผู้ประสบ ภาวะวิกฤต ประเมินคัดกรองภาวะสุขภาพจิตเพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงในแต่ละวัย และนำมาวางแผนในการช่วยเหลือ ที่ถูกต้องเหมาะสม
ความรุนแรง 6 กลุ่ม มีขั้นตอนการช่วยเหลือ
2) คัดกรองและค้นหากลุ่มเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพจิต โดยใช้เวชระเบียนสำหรับผู้ประสบภาวะวิกฤต/ภัยพิบัติ (ผู้ใหญ่และเด็ก) และให้การปฐมพยาบาลด้านจิตใจ
3) สำรวจความต้องการช่วยเหลือทั้งด้านร่างกายและจิตใจ และการให้การช่วยเหลือเยียวยาจิตใจ โดยใช้ วิธีให้การปฐมพยาบาลด1านจิตใจ (PFA) สร้างสัมพันธภาพกับผู้ประสบภาวะวิกฤต สำรวจความต้องการของผู้ประสบภาวะวิกฤต ด้านปัจจัยสี่ ความต้องการได้รับการดูแลรักษาโรคทางกาย หากพบ ประเมินภาวะสุขภาพจิตผู้ประสบภาวะวิกฤตตามกระบวนการปฐมพยาบาลด้านจิตใจ (PFA) เน้นให้ผู้ประสบภาวะวิกฤตระบายความรู้สึกให้มากที่สุด
1) เมื่อเกิดสถานการณ์วิกฤต ทีม MCATT เข้าพื้นที่ให้การช่วยเหลือผู้ประสบภาวะวิกฤตในพื้นที่เสี่ยง โดยลงพื้นที่ร่วมกับทีมให้การช่วยเหลือทางกาย เพื่อประเมินสถานการณ์ด้านสุขภาพจิตและกำหนดพื้นที่ที่จะลงไป ช่วยเหลืออย่างต่อเนื่อง เตรียมความพร้อมของทีม รับทราบบทบาทหน้าที่ จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์แบบประเมิน/ คัดกรองภาวะสุขภาพจิต ทบทวนความรู้เรื่องการใช้แบบประเมิน/แบบคัดกรองภาวะสุขภาพจิต
5) สรุปรายงานสถานการณ์เบื้องต้นพร้อมทะเบียนกลุ่มเสี่ยง
4) กรณีพบความเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาสุขภาพจิต ให้จัดทำทะเบียนกลุ่มเสี่ยงและวางแผนการติดตามต่อเนื่อง
ระดับทีมช่วยเหลือเยียวยาจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤต (MCATT)
ทีมระดับตำบล
ผอ.รพ.สต. และ
ผู้รับผิดชอบงานสุขภาพจิต รพ.สต. อสม. เจ้าหน้าที่มูลนิธิ ตัวแทนจาก อปท. แกนนำชุมชน เช่น กำนัน/
ผู้ใหญ่บ้าน และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
ทีมระดับอำเภอ
จิตแพทย/์ แพทย ์
พยาบาลที่รับผิดชอบงานสุขภาพจิตและจิตเวช นักจิตวิทยาคลินิก/นักจิตวิทยา/นักสังคมสงเคราะห์ เภสัชกร
นักวิชาการสาธารณสุข และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง (เช่น ตำรวจ ทหาร เจ้าหน้าทีAเวชกิจฉุกเฉิน ฯลฯ)
ทีมระดับจังหวัด
จิตแพทย์ พยาบาล
จิตเวช นักจิตวิทยาคลินิก/นักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห์ นักวิชาการสาธารณสุข เภสัชกร และเจ้าหน้าที่ที่
เกีAยวข้อง
ทีมระดับกรมสุขภาพจิต
จิตแพทย์ พยาบาลจิตเวช นักจิตวิทยา
คลินิก/นักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห์นักวิชาการสาธารณสุข เภสัชกร
และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง มีหน้าที่เป็นที่ปรึกษาด้านสุขภาพจิตแก่ทีม MCATT