Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยใหญ่ที่มีปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับความผิดป…
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยใหญ่ที่มีปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับความผิดปกติของเลือดและส่วนประกอบของเลือด
-
-
สาเหตุของเลือดออกผิดปกติ
ความผิดปกติของหลอดเลือด ลักษณะเลือดออกจะเป็น petchiae หรือ ecchymosis อาจมีสาเหตุมาจาก หลอดเลือดเปราะ ในผู้ป่วยที่มีปัญหา ติดเชื้อ ขาดอาหาร ขาดวิตามินซี รับประทานยา steroid นานๆ
ความผิดปกติของเกล็ดเลือด ลักษณะเลือดออกมักจะเป็น petchiae ecchymosis และ mucosal bleeding อาจเกิดจาก ปริมาณเกล็ดเลือดต่ำ (thrombocytopenia) หรือ เกล็ดเลือดทำหน้าที่ผิดปกติ)
ความพร่องในปัจจัยการแข็งตัวของเลือด ลักษณะเลือดออกมักจะมี ecchymosis ขนาดใหญ่ เลือดออกในข้อ (hemarthrosis) เลือดออกในกล้ามเนื้อ
-
-
-
Thrombocytopenia
-
การพยาบาลเมื่อมีเลือดออก
-
-
Epistaxis ใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้บีบปีกจมูกทั้งสองข้าง และวางกระเป๋าน้ำแข็งหรือ cold pack ที่บริเวณหน้าผาก จัดให้นั่งอยู่ในท่าโยกตัวไปด้านหน้าเล็กน้อย
-
Hemarthrosis พันข้อด้วย elastic bandage งดการเคลื่อนไหวข้อนั้นละยกข้อให้สูงเหนือระดับหัวใจ ประคบด้วยความเย็นใน 24 ชั่วโมงแรก
-
Snake bite
-
-
-
อาการ
-
มีอาการเลือดออกผิดปรกติ ได้แก่ เลือดออกจากแผลรอยกัดมาก, มีจ้ำเลือดบริเวณแผล, เลือดออกตามไรฟัน,
ในกรณีงูแมวเซาซึ่งเป็น viper จะมีอาการปวดกล้ามเนื้อตามตัวได้มาก มีอาการและอาการแสดงของภาวะ DIC และมีอาการของภาวะไตล้มเหลวเฉียบพลัน
ในกรณีของงูกะปะและงูเขียวหางไหม้ อาการเลือดออกผิดปรกติมักไม่รุนแรง แต่อาการที่บริเวณแผลงูกัดจะรุนแรง
การรักษาทั่วไป
-
-
-
ให้ยาแก้ปวด แอเคตามิโนเฟน ไม่ให้ยาแก้ปวดที่มีฤทธิ์กดประสาทส่วนกลางแก่ผู้ที่ถูกงูพิษต่อระบบประสาทกัด และไม่ให้ แอสไพรินในผู้ป่วยที่ถูกงูพิษต่อระบบเลือดกัด
ให้ยาต้านจุลชีพในกรณีถูกงูเห่าและงูจงอางกัด ใช้ยาที่ครอบคลุมเชื้อทั้งแกรมบวก แกรมลบเละเชื้อไม่พึ่งอากาศ
-
การดูแลผู้ป่วย
-
- ข้อบ่งชี้ในการให้เซรุ่มแก้พิษงู
- ขนาดของเซรุ่มแก้พิษงูที่ใช้ คือ 30 มล. สำหรับความรุนแรงปานกลาง (moderate) และ 50 มล.สำหรับความรุนแรงมาก (severe)
- การติดตามผู้ป่วย ติดตามภาวะเลือดออก และ VCT ทุก 6 ชั่วโมง หากยังมีภาวะเลือดออก หรือVCT ยังผิดปกติ สามารถให้เซรุ่มแก้พิษงูซ้ำได้อีก จน VCT ปกติ
- ในผู้ป่วยที่ถูกงูแมวเซากัด ติดตามการตรวจวัดปริมาณปัสสาวะทุก 6 ชั่วโมง และอาจพิจารณาทำ hemodialysis
-
-
-
-
ภาวะซีด
-
-
การรักษาภาวะซีด
- การรักษาทั่วไป เป็นการบำบัดอาการของภาวะซีด ระหว่างที่ทำการรักษาที่เป็นสาเหตุของภาวะซีด
- การรักษาเฉพาะ เป็นการรักษาที่สาเหตุ
-
มะเร็งเม็ดเลือดขาว
มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน (Acute leukemia) เกิดจากการเพิ่มจำนวนของเซลล์เม็ดเลือดตัวอ่อนอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้ไขกระดูกไม่สามารถสร้างเซลล์เม็ดเลือดที่ปกติได้
มะเร็งสามารถเกิดจากเม็ดเลือดขาวได้ 2 ชนิด คือ lymphocyte และ myeloid และแบ่งการดำเนินของโรคเป็น acute คือเกิดเร็ว โรคดำเนินเร็ว blast cell มาก chronic โรคดำเนินช้า blast cell
มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเรื้อรัง (Chronic leukemia) เกิดจากการที่ร่างกายสร้างเซลล์เม็ดเลือดที่ผิดปกติออกมาเป็นจำนวนมากกว่าเซลล์เม็ดเลือดที่ปกติ
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-