Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการพยาบาลอนามัยชุมชนกับการวินิจฉัยชุมชนและการแก้ปัญหา cover_id215,…
กระบวนการพยาบาลอนามัยชุมชนกับการวินิจฉัยชุมชนและการแก้ปัญหา
1.การประเมินชุมชน
(community assessment)
การเก็บรวบรวมข้อมูล(Data Collection)
การประเมินภาวะสุขภาพชุมชน
1.ข้อมูลทั่วไปของชุมชน เช่น ประวัติชุมชน ที่ตั้ง อาณาเขตสภาพภูมิประเทศ แหล่งประโยชน์ชุมชน วิถีชุมชน ข้อมูลทางเศรษฐกิจ สังคม ผู้นําชุมชน
2.ข้อมูลประชากร เช่น อายุ เพศ สถานะภาพสมรส
การศึกษา อาชีพ รายได้
3.ข้อมูลด้านสุขภาพ เช่น อัตราเกิด อัตราตาย
อัตราอุบัติการณ์ อัตราป่วยของโรคต่างๆ
4.ข้อมูลด้านพฤติกรรมสุขภาพ: การรับประทานอาหาร การออกกําลังกาย การดื่มสุรา การสูบบุหรี่ การตรวจคัดกรองโรค
5.ข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม: ขยะ น้ำ ส้วม พาหะนำโรค เช่น ยุงลาย
6.ข้อมูลด้านการบริการสุขภาพ เช่น ระบบบริการสุขภาพ
คุณภาพคลินิก ร้านขายยา หมอพื้นบ้าน การใช้สมุนไพร
การกําหนด
กลุ่มเป้าหมาย
ประชากรทั้งหมด (Census)
การสุ่มตัวอย่าง (Random Sampling) เช่น
การใช้การสุ่มแบบง่าย หรือการสุ่มแบบเป็นระบบ
ชนิดของข้อมูล
1.ข้อมูลปฐมภูมิ
รวบรวมข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูลโดยตรง
ข้อดี: ได้ข้อมูลครบตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการ ทันสมัย
ข้อเสีย: เสียเวลา งบประมาณ
ข้อมูลทุติยภูมิ
รวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่มีอยู่แล้ว
ข้อดี: ไม่สิ้นเปลืองกําลังคน หรือค่าใช้จ่าย
ข้อเสีย: อาจไม่ได้ข้อมูลครบถ้วนตามที่ต้องการ
เครื่องมือ/วิธ๊การเก็บรวบรวมข้อมูล
การสังเกต(Observation): พฤติกรรมสุขภาพ สิ่งแวดล้อม
การสํารวจ (Survey): สํามะโนประชากร
การใช้แบบสอบถาม (Questionnaire): การรับประทานอาหาร
การป้องกันตัวไม่ให้ติด COVID 19
การวัดและประเมิน(Measurement): BP, blood sugar, waist
circumference, BMI, ADL
การทดสอบ(Test): Timed up and go test, Child development
การสัมภาษณ์/สัมภาษณ์เชิงลึก
การสนทนากลุ่ม
การวิเคราะห์ข้อมูล (Data analysis)
1.ข้อมูลเชิงปริมาณ
Descriptive Stat
ข้อมูลทั่วไปส่วนบุคคล เช่น อายุเพศ การศึกษา
อาชีพ รายได้: Percentage, Mean and SD
ข้อมูลด้านสุขภาพ อัตราเกิด อัตราตาย
อัตราความชุก อัตราอุบัติการณ์
Inferential Stat.: T-Test, Chi-Square etc.
2.ข้อมูลเชิงคุณภาพ
การวเิคราะหเ์ชิงเนื้อหา(Content Analysis)
การนําเสนอข้อมูล
(Data Presentation)
1.การนําเสนอโดยปราศจากแบบแผน
การนําเสนอเป็นบทความ
การนําเสนอเป็นบทความกึ่งตาราง
2.การนําเสนอโดยมีแบบแผน
การนําเสนอเป็นตาราง
ตารางลักษณะเดียว(ตารางทางเดียว)
ตารางสองลักษณะ(ตารางสองทาง)
การนําเสนอด้วยกราฟ
กราฟเส้น
ฮิสโตรแกรม
รูปหลายเหลี่ยมแห่งความถี่
การนําเสนอด้วยแผนภูมิ
แผนภูมิแท่ง
แผนภูมิแท่งเชิงเดี่ยว
แผนภูมิแท่งซับซ้อน
แผนภูมิแท่งเชิงประกอบ
แผนภูมิแรเงาซ้อนเหลื่อมกัน
แผนภูมิทางภูมิศาสตร์
แผนที่แบบแรเงาหรือระบายสี
แผนที่แบบจุด
แผนที่แบบเข็มหมุด
แผนภูมิเพื่อจุดประสงค์พิเศษ
แผนภูมิการไหลเวียน
แผนภูมิองค์การ
แผนภูมิกงหรือวงกลม
แผนภูมิภาพ
2.การวินิจฉัยชุมชน
(community diagnosis)
2.การจัดลําดับความสําคัญของปัญหา
(Priority setting)
ขนาดของปัญหา
(Size of Problem)
ร้อยละ0-25 1คะแนน
ร้อยละ25-50 2คะแนน
ร้อยละ50-75 3คะแนน
ร้อยละ75-100 4คะแนน
การระบุปัญหา
(Severity of Problem)
ร้อยละ0-25 1คะแนน
ร้อยละ25-50 2คะแนน
ร้อยละ50-75 3คะแนน
ร้อยละ75-100 4คะแนน
ความยากง่าย
(Ease of Management
of Susceptibility)
ทําไม่ได้เลย 0 คะแนน
ยากมาก 1 คะแนน
ยาก 2 คะแนน
ง่าย 3 คะแนน
ง่ายมาก 4 คะแนน
ความวิตกกกังวล
(Community concern)
ไม่มีเลย/ไม่สนใจเลย 0 คะแนน
ร้อยละ0-25/สนใจน้อย 1 คะแนน
ร้อยละ25-50/สนใจปานกลาง 2 คะแนน
ร้อยละ 50-75/สนใจมาก 3 คะแนน
ร้อยละ 75-100/สนใจมากที่สุด 4 คะแนน
1.การระบุปัญหา
(Problem Identification)
1.ใช้เกณฑ์ตัวชี้วัดด้านสุขภาพ
ตัวชี้วัดการดําเนินงานด้านสุขภาพ
ของกระทรวงของจังหวัด
เกณฑ์จปฐ.
2.5D: Dead, Disability,
Disease, Discomfort,
Dissatisfaction
ประชาชนป่วยโรคพยาธิใบไม้ในตับ 27/1,000 ประชากร
3.กระบวนการกลุ่ม
(Nominal Group Process)
ประชาชนในชุมชนมีปัญหาเรื่องการไม่ปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันCOVID 19 อย่างเคร่งครัด เช่น การใส่หน้ากากอนามัย การเว้นระยะห่างทางสังคม
วิธีการเขียนปัญหาสุขภาพชุมชน
ใคร + เป็นอะไร + ปริมาณเท่าไร
เช่น ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปไม่ตรวจคัดกรองโรคเบาหวานร้อยละ46
การระบุปัญหา พร้อมเกณฑ์
และข้อมูลสนับสนุน
ปัญหา + เกณฑ์+ ข้อมูลสนับสนุน
เช่น ปัญหา:ประชาชนอายุ35ปีขึ้นไปไม่ไปตรวจคัดกรองโรคเบาหวานร้อยละ46
เกณฑ์:เกณฑ์ตัวบ่งชี้ด้านสุขภาพ สสจ: ประชานอายุ 35ปีขึ้นไป
ตรวจคัดกรอง DM ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90
ข้อมูลสนับสนุน: ประชาชนป่วยด้วย DM เพิ่มขึ้นทุกปี
ประชาชนชอบรับประทานหวาน ดื่มเครื่องดื่มที่มีรสหวาน
3.การระบุสาเหตุและทําโยงใยสาเหตุของปัญหา
(Identify Cause of Problem and Web of Causation)
1.ชนิดของสาเหตุ
(Type of Causation)
ทางตรง
ทางอ้อม
2.ชนิดของโยงใยสาเหตุของปัญหา
(Type of web of causation)
โยงใยสาเหตุทางทฤษฎี(Theoretical Web of causation)
โยงใยสาเหตุที่เกิดขึ้นจริง (Causal Web of causation)
3.การวางแผนแก้ไขปัญหา
(planning)
การวางแผน คือ การตัดสินใจล่วงหน้าว่าจะทําอะไร ทําอย่างไร ทําเมื่อใด และใครเป็นผู้ทำ
เป็นเครื่องช่วยให้มีการตัดสินใจอย่างมีหลักเกณฑ์ เพราะ ได้มีการศึกษาสภาพเดิมในปัจจุบันและกำหนดสภาพใหม่ในอนาคต
โครงการและการเขียนโครงการ
1.ชื่อโครงการ
มีความชัดเจน เหมาะสม และเฉพาะเจาะจง
เป็นที่เข้าใจได้ง่ายสําหรับผู้นําโครงการไปใช้
จะต้องบ่งบอกว่า จะทําสิ่งใดบ้าง
โครงการที่จัดขึ้นนั้นทําเพื่ออะไร
2.หลักการและเหตุผล
บอกว่าทําไมต้องการทําโครงการนั้น
ทําแล้วได้อะไร ถ้าไม่ทําจะเกิดผลสียอย่างไร
ให้สะท้อนความจําเป็นของการจัดทําโครงการ
แสดงสถิติข้อมูลและเหตุผลรองรับที่มีน้ำหนักสมเหตุสมผลเพื่อให้ผู้รับบริการเห็นควรสนับสนุนโครงการ
3.วัตถุประสงค์
S : Senible (เป็นไปได้) หมายถึง วัตถุประสงค์ที่มีความเป็นไปได้ในการดําเนินโครงการ
M : Measurable (วัดได้) หมายถึง วัตถุประสงค์ที่ดีสามารถวัดและประเมินผลได้
A : Attainble (ระบุสิ่งที่ต้องการ) หมายถึง ต้องระบุสิ่งที่ต้องการอย่างเฉพาะเจาะ
R : Reason (เป็นเหตุเป็นผล) หมายถึง วัตถุประสงค์ที่ดีต้องมีความเป็นเหตุเป็นผลในการปฏิบัติ
T : Time (เวลา) หมายถึง วัตถุประสงค์ที่ดีต้องมีขอบเขตเวลาที่แน่น
4.เป้าหมาย
การกําหนดทิศทางและความต้องการที่คาดหวงัจะใหเ้กิดขึ้นจากการปฏิบัติงาน เพื่อนําไปสู่การบรรลุวัตถุประสงค์
มีลักษณะเป็นวัตถุประสงค์เฉพาะ ขยายวัตถุประสงค์ใหเ้ป็นรูปธรรมมากขึ้น โดยระบุสิ่งที่ต้องการใหเ้กิดขึ้นวัดได้ทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ
5.วิธีการดำเนินงาน
กระบวนการปฏิบัติเพื่อบรรลุเป้าหมายและวัตถุประสงค์
โดยกําหนดกิจกรรมอย่างชัดเจนตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการร
ระบุใคร ทําอะไรมีปฏิทินปฏิบัติงานควบคุมกํากับชัดเจน
ระยะเวลาการดําเนินงานโครงการ
ระยะเวลาตั้งแต่เริ่มต้นโครงการจนเสร็จสิ้นโครงการ
นิยมระบุวัน-เดือน-ปี ที่เริ่มต้นและเสร็จสิ้น
งบประมาณ
ค่าใช้จ่ายทั้งสิ้นของโครงการ
ควรระบุแหล่งที่มาของงบประมาณด้วย
ระบุราบละเอียดค่าใช้จ่ายจําแนกตามหมวดหมู่
เช่น ค่าจ้าง ค่าตอบแทน ค่าใช้สอย ค่าวัสดุครุภัณฑ์ค่าเชื้อเพลิง
8.การประเมินผล
บอกแนวทางการติดตามประเมินผลควรทําอย่างไร
ในระยะเวลาใด และใช้วิธีการอย่างไรจึงจะเหมาะ
โดยระบุวิธีการ และเกณฑ์ที่ใช้ในการวัด
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
เป็นผลประโยชน์และผลตอบแทนที่คาดว่าได้รับจากการดําเนินงานโดยตรงและโดยอ้อมที่อยู่นอกความคาดหมายไปจากวัตถุประสงค์และเป้าหมาย
ผู้รับผิดชอบโครงการ
เป็นการระบุตัวบุคคลหรือหน่วยงานที่รับผิดชอบในการเสนอและดํำเนินโครงการ
นางสาวศุภาลัย สร้อยทรัพย์
รุ่น35 เลขที่60