Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3.8 การพยาบาลด้านจิตสังคมสำหรับผู้ประสบสาธารณภัย - Coggle Diagram
บทที่ 3.8 การพยาบาลด้านจิตสังคมสำหรับผู้ประสบสาธารณภัย
การเตรียมตัวเพื่อรับสถานการณ์ฉุกเฉิน
เข้ารับการฝึกอบรมเกี่ยวกับการช่วยเหลือเยียวยาจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤต
เตรียมตัวด้านความรู้เรื่องการใช้แบบประเมิน/แบบคัดกรองภาวะสุขภาพจิตทั้งเด็กและผู้ใหญ่
เมื่อเกิดสถานการณ์วิกฤตเข้าพื้นที่ให้การช่วยเหลือร่วมกับทีมให้การช่วยเหลือทางกาย
ประเมินสถานการณ์ด้านสุขภาพจิต และกำหนดพื้นที่ที่จะลงไปช่วยเหลืออย่่งต่อเนื่อง
คัดกรองและค้นหากลุ่มเสี่ยงปัญหาสุขภาพจิต
สำรวจความต้องการช่วยเหลือทั้งด้านร่างกายและจิตใจ เช่น สำรวจความต้องการปัจจัยสี่ความต้องการได้รับการดูแลรักษาทางกาย เป็นต้น
กรณีพบความเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพจิตให้จัดทำทะเบียนกลุ่มเสี่ยงและแผนการติดต่อต่อเนื่อง
สรุปรายงานสถานการณ์เบื้องต้นพร้อมทะเบียนกลุ่มเสี่ยง
การปฐมพยาบาลด้านจิตใจ
Engagement : E
การสังเกตภาษาท่าทางและพฤติกรรม คือ Nonverbal ได้แก่ สีหน้า แววตา ท่าทาง การเคลื่อนไหวของร่างกาย และ Verbal ได้แก่ พูดสับสนฟังไม่รู้เรื่อง
การสร้างสัมพันธภาพ มีการแนะนำ
ตัวเอง มีการมองหน้าสบตา รับฟังด้วยท่าทีที่สงบให้กำลังใจ
การสื่อสาร เริ่มพูดคุยเบื้องต้นเมื่อผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤตมีความพร้อม เช่น เริ่มสบตามีท่าทีที่ผ่อนคลาย มีสติรู้ตัว
(Assessment: A)
ประเมินและตอบสนองความต้องการทางด้านร่างกาย เช่น การให้ยา จัดหาน้ำดื่ม ยาดมแอมโมเนีย ผ้าเย็นเช็ดหน้า เป็นต้น
การประเมินสภาพจิตใจ ตามระยะปฏิกิริยาทางจิตใจ
ประเมินความต้องการทางสังคม เช่น ผู้ประสบภาวะวิกฤตไร้ญาติขาดมิตรประสานกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน หรือหน่วยงานที่ให้ความ
ช่วยเหลือ
(Skills: S)
a. การฝึกกำหนดลมหายใจ (Breathing exercise) เกิดความผ่อนคลายทางอารมณ์ลดอาการใจสั่น หายใจถี่แรง
b. Touching skill (การสัมผัส) เชjน แตะบ่า แตะมือ บีบนวดเบาๆ โดยคำนึงถึงความเหมาะสม
c. ทักษะการ Grounding คือ การช่วยให้ผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤตที่มีอารมณ์ท่วมท้น (overwhelmed feeling) กลับมาอยู่กับความเป็นจริง
d. การนวดสัมผัส และ การนวดกดจุดคลายเครียด
e. การลดความเจ็บปวดทางใจ เช่น การฟังอย่างใส่ใจ (Active Listening) การสะท้อนความรู้สึก การเงียบ การทวนซ้ำ
f. การเสริมสร้างทักษะการเสริมสร้าง Coping skills สามารถช่วยลดความกังวล
(Education: E)
ตรวจสอบความต้องการ ถามถึงข้อมูลและตรวจสอบความต้องการช่วยเหลือที่จำเป็นและเร่งด่วน
เติมเต็มความรู้ ให้ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอาการที่เกิดขึ้นจากความเครียด และผลกระทบทางจิตใจ
ติดตามต่อเนื่อง รNวมกันวางแผนและหาแนวทางในการรับการช่วยเหลือต่างๆ เพิ่มเติม