Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
6.11การดูเเลมารดาที่มีภาวะไม่สุขสบาย - Coggle Diagram
6.11การดูเเลมารดาที่มีภาวะไม่สุขสบาย
ระบบทางเดินอาหาร
คลื่นไส้ อาเจียน (morning sickness)
อาการร่วมเบื่ออาหาร เวียนศีรษะ
บางรายอยากกินอาหารรสจัด และของแปลกๆ
สัปดาห์ที่ 6-8 และจะหายไปประมาณ สัปดาห์ที่ 12-16
อาเจียนตลอดเวลา
เรียกว่า
Hyperemesis gravidarum
สาเหตุไม่ทราบแน่นอน
การเปลี่ยนแปลงของการเผาผลาญคาร์โบไฮเดรต
เพิ่มระดับของฮอร์โมน HCG, Estrogen และ Progesterone
ฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน
ด้านจิตใจ จากความวิตกกังวล
คำแนะนำ
ดื่มน้ำวันละ 6-8 แก้ว
หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน และน้ำอัดลม
โปรตีน และคาร์โบไฮเดรตทุก 2 ชมน มื้อเล็กๆ
5-6 มื้อต่อวัน
รับประทานขนมปังกรอบ
เลี่ยงหลีกอาหารที่มีกลิ่นฉุน รสจัด และมีไขมันมาก หรือสิ่งที่กระตุ้นต่อการได้กลิ่น
หลีกเลี่ยงเหตุการณ์ที่ทำให้เกิดความเครียด
พักผ่อนให้เพียงพอ
ควรแปรงฟันหลังจากรับประทานอาหารไปแล้ว 1 ชั่วโมง
อาจแนะนำให้รับประทานอาหารอ่อน
อาการอาเจียนรุนแรง ให้ปรึกษาแพทย์
มีน้ำลายมาก (ptyalism, salivation)
ไม่สามารถกลืนน้ำลาย
ครรภ์ 2-3 สัปดาห์
ช่วงเวลากลางวัน
หายไปหลังจากคลอดบุตร
คำแนะนำ
แนะนำให้เคี้ยวหมากฝรั่งหรืออมลูกอม
แพทย์อาจให้ยานอนหลับอ่อนๆช่วย
ทำความสะอาดช่องปากบ่อยๆโดยการบ้วนปากด้วย
น้ำสะอาด
เหงือกอักเสบ (gingivitis)
ฮอร์โมนเอสโทรเจนทำให้มีเลือดมาคั่งมากขึ้น
การให้คำแนะนำ
ใช้แปรงขนอ่อนนุ่ม
รับประทานอาหารให้ได้สัดส่วน เพิ่มอาหารโปรตีน ผักผลไม้
อาการแสบร้อนยอดอก (heart burn)
การไหลย้อนกลับของกรดในกระเพาะอาหาร
การบีบตัวของกระเพาะอาหารและลำไส้ช้าลง ร่วมกับกล้ามเนื้อหูรูดของหลอดอาหารคลายตัว
ฮอร์โมน progesterone ร่วมกับขนาดของมดลูกที่โตขึ้นกดเบียด
คำแนะนำ
เคี้ยวหมากฝรั่ง
หายใจยาวๆลึกๆ ละจิบน้ำทีละนิด
ควรนอนตะแคงข้างขวา หนุนศีรษะและลำตัวให้สูง
หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่
หลังจากรับประทานอาหารไม่ควรนอนทันที(30นาที)
หลีกเลี่ยงชา กาแฟ น้ำอัดลม และเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
หลีกเลี่ยงการดื่มน้ำมากๆในระหว่างมื้ออาหาร
หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารก่อนเข้านอนเป็นเวลา 1-3 ชั่วโมง
หลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมัน และอาหารรสจัด
หากรับประทานยาลดกรด เช่น Alum milk, Ranitidine ไม่ดีขึ้น
ควรพบแพทย
รับประทานอาหารให้ตรงเวลาทีละน้อย วันละ 5-6 มื้อต่อวัน
ท้องผูก (constipation)
คำแนะนำ
ใยอาหารสูงให้มากขึ้น
ดื่มน้ำมากๆอย่างน้อยวันละ 8 แก้ว
ประเมินพฤติกรรมการขับถ่าย
ออกกำลังกายวันละ 20-30 นาที 3-4 วันต่อสัปดาห์
สร้างลักษณะนิสัยในการขับถ่าย
ควรรับประทานยาเสริมธาตุเหล็กร่วมกับน้ำส้ม
ควรหลีกเลี่ยงประเภทของอาหารที่ทำให้เกิดแก๊ส(กะหล่ำปลี ถั่ว)
หลีกเลี่ยงการสวนอุจจาระ
หากใช้ยาถ่ายหรือยาระบาย ควรปรึกษาแพทย์ก่อน
การบีบตัวของลำไส้ลดลงและเคลื่อนไหวไม่ดี
การเพิ่มของฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน
การรับประทานยาธาตุเหล็ก
ท้องอืด (Flatulence)
เพิ่มขึ้นของฮอร์โมน progesterone
คำแนะนำ
หลีกเลี่ยงอาหารที่ทำให้เกิดแก๊ส
เคี้ยวอาหารให้ละเอียด
ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
ขับถ่ายอุจจาระให้เป็นนิสัย
มดลูกที่โตขึ้นกดเบียดกระเพาะอาหาร
ริดสีดวงทวารหนัก(hemorrhoids)
มีเลือดมาไหลเวียนที่
บริเวณทวารหนักเพิ่มมากขึ้น
มดลูกที่โตไป
กดทับเส้นเลือดด า
ที่เส้นเลือดด าในทวารหนักโป่งพอง
หรืออาจยื่นออกมาข้างนอกทวารหนัก
การนั่ง
หรือยืนนานๆ
เบ่งอุจจาระมากเกินไป และการเบ่ง
คลอด
คำแนะนำ
เพิ่มกากใยของอาหาร
ดื่มน้ำมากๆ (8)
ออกกำลังกายระดับเบาถึงปานกลาง
นั่งแข่ก้นในน้ำอุ่น 20นาที
ประคบความเย็นได้
มีอาการปวด และมีเลือดออกที่ริดสีดวงทวาร ควรปรึกษา
แพทย
การขับถ่ายให้เป็นลักษณะนิสัย
ระบบหัวใจเเละหลอดเลือด
หน้ามืดเป็นลม
ความดันโลหิตต่ำ
การเปลี่ยนอิริยาบถ
ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ
คำแนะนำ
คาร์โบไฮเดรตบ่อยครั้งต่อวัน
นอนราบและยกเท้าให้สูง หรือให้นั่งคุกเข่า
เปลี่ยนอิริยาบถช้าๆ
จัดท่านอนให้ศีรษะต่ำ คลายเสื้อผ้าให้หลวม และจัดให้อยู่ในที่ที่มีการระบายอากาศ
ความดันโลหิตต่ำเนื่องจากการนอนหงาย
Supine hypotensive syndrome
เลือดไหลเวียนกลับไปที่หัวใจห้องบนขวาน้อยลง
มดลูกที่ใหญ่ขึ้นกดเส้นเลือด
Inferior venacava และ descending aorta
ปริมาณเลือดที่ส่งออกจากหัวใจต่อนาทีลดลง
คำแนะนำ
แนะนำให้นอนตะแคงซ้าย
เส้นเลือดขอด (vaicose Veins)
พันธุกรรมเป็นเส้นเลือดขอด
ลิ้นของเส้นเลือดดำปิดไม่สนิท ทำให้เลือดมี
การไหลย้อนกลับ
ขยายตัวของเส้นเลือดดำ
ยืนนานๆ ก็อาจทำให้
อาการรุนแรงขึ้นได้
มดลูกที่มีขนาดโตขึ้นแล้วกดทับการไหลเวียนของเลือด
คำแนะนำ
ยกเท้าสูง และนอนเท้าสูงประมาณ 45 องศา 5-10 นาที
วันละ4-5 ครั ้ง
ถ้าเป็นที่อวัยวะสืบพันธ์ภายนอกให้นอนตะแคง เป็นเวลา 15-20 นาที วันละ 2ครัง
หลีกเลี่ยงการนั่งหรือยืนนานๆ และการนั่งไขว่ห้าง
ปรึกษาแพทย์ถ้าอาการรุนแรงมาก
ระบบหายใจ (Respiratory System)
หายใจลำบาก (Dysnea)
ความไวต่อการกระตุ้นเพิ่มมากขึ้น
มดลูกขนาดโตขึ้น ทำให้กระบังลมขยายตัวได้ไม่เต็มที
คำแนะนำ
แนะนำให้นอนท่าศีรษะสูง
ระบบโครงสร้างและกล้ามเนื้อ (musculoskeletal system)
ตะคริว(leg cramp)
pเพิ่มขึ้น
การดูดกลับที่ไต
Caลดลง
คำแนะนำ
หลีกเลี่ยงการสวมเสื้อผ้า หรือสวมถุงน่องที่รัดแน่น
หลีกเลี่ยงการกดปลายเท้าลง และการนั่งไขว่ห้าง
สวมใส่รองเท้าส้นเตี้ย
หลีกเลี่ยงการยืนนานๆหรือนั่งห้อยเท้านานๆ
เหยียดน่องและใช้มือกดที่หัวเข่าข้างที่เป็นตะคริวให้เยียดตรงและกระดกปลายเท้าขึ้น
ความร้อนประคบ
ออกกำลังกายท่าการบริหารกล้ามเนื้อน่อง
ไม่สมดุลของสารอิเล็กโทรไลต์
อาหารที่รับประทาน
มดลูกที่มีขนาดโต
ปวดหลัง (Back pain)
ท าให้น้ำหนักถ่วงมาข้างหน้า
จุดศูนย์ถ่วงมาข้างหน้า ทำ
ให้หลังแอ่น
มดลูกขนาดโตขึ้น
คำแนะนำ
หลีกเลี่ยงการออกกำลังกายที่มากเกินไป
ฝึกหัดการทรงตัว การเคลื่อนไหว และการออกกำลังกาย
รองเท้าไม่สูง ส้นใหญ
นอนตะแคง
ความร้อน ความเย็นประคบ
หรืออาบน้ำอุ่นเป็นเวลา 30 นาที
ออกกำลังกายท่า pelvic rock
ปรึกษาแพทย์ถ้าปวดมาก
ระบบขับถ่าย(renal system)
ปัสสาวะบ่อย(urinary frequency)
ไตรมาสที่สอง อาการปัสสาวะบ่อยจะลดน้อยลง
ไตรมาสแรกหญิงตั้งครรภ์จะมีอาการปวดปัสสาวะบ่อยไหลเวียนของเลือดไหลผ่านไปที่ไตเพิ่มมากขึ้น
มีอาการปัสสาวะบ่อยอีกครั้งเมื่ออายุครรภ์ใกล้ครบ
กำหนด เนื่องจากส่วนนำของทารกลงมากดเบียดกระเพาะปัสสาวะ
คำแนะนำ
ควรแนะนำการบริหารร่างกายโดย
การฝึกขมิบกล้ามเนื้อรอบช่องคลอด (kegel exercise)
ไม่ควรงดดื่มน้ำ ควรดื่มน้ำให้น้อยลงในช่วงเวลากลางคืนก่อนเข้านอน
ไม่ควรกลั้นปัสสาวะ
หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน เช่น กาแฟ ชา น้ำอัดลม
อธิบายให้หญิงตั้งครรภ์เข้าใจถึงสาเหตุ
ตกขาว (Leucorrhea)
คำแนะนำ
ท าความสะอาดอวัยวะสืบพันธ์
สวมใส่กางเกงในที่เป็นผ้าฝ้าย
หลีกเลี่ยงการสวนล้างช่องคลอด
ควรปรึกษาแพทย์ถ้าตกขาวมีลักษณะ สี กลิ่น
ที่ผิดปกติ และมีอาการคันร่วมด้วย
ใส่ผ้าอนามัยเพื่อสังเกตลักษณะ สี กลิ่น และปริมาณของตกขาว
ฮอร์โมนเอสโตรเจน และโปรเจสเตอโรน
ระบบผิวหนัง(intequmentary system)
ผิวมีสีเข้มขึ้น(deepened pigmentation)
คำแนะนำ
เกิดจากฮอร์โมนเอสโทรเจนที่มีปริมาณเพิ่มขึ้น
หน้าท้องลายเป็นสีน้ำตาลเข้ม (Striae gravidarum)
เส้นสีดำที่แนวกลางหน้าท้อง (Linea nigra)
กระตุ้นให้มีการสร้างเมลานิน (melanin) เพิ่มขึ้น
อาการคัน (pruritus)
การยืดขยายของกล้ามเนื้อ และผิวหนังทำให้เกิดอาการคันได้
คำแนะนำ
ควรใช้โลชั่น
ทำความสะอาดร่างกาย
การใช้สารมีแอลกอฮอล์ สบู่ที่เป็นกรดด่างสูง
ตัดเล็บให้สั้น ไม่เกา
ถ้าคันมากควรปรึกษาแพทย์
ระบบประสาท (neurologic system)
Braxton-Hicks contraction
การหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูกเพื่อเตรียมตัวสำหรับการคลอด
คำเเนะนำ
ให้พักผ่อนและให้ความมั่นใจในการคลอด
ฝึกเทคนิคการหายใจ (Breathing Exercise)
ปวดศีรษะ (headaches)
ความตึงเครียด
นานกว่า 2สัปดาห์ควรปรึกษาแพทย์ วินิจฉํยโรคโพรงจมูกอักเสบ สายตาสั้น
ระยะที่สามของการตั้งครรภ์ให้คำนึงถึงภาวะความดันโลหิตสูง
คำเเนะนำ
ให้ความรู้เกี่ยวกับการตั้งครรภ์เพื่อให้คลาย
ความตึงเครียด
ปรึกษาแพทย์ เพื่อค้นหาสาเหตุ
อาการอื่น ๆ (miscellaneous conditions)
อ่อนเพลีย(fatigue)
ระยะแรกๆ ของการตั้งครรภ์
คำเเนะนำ
แนะนำให้ผักผ่อนให้มากขึ้น
รับประทานอาหาร
ให้ความมั่นใจ และอธิบายอาการผิดปกติ
บวม (Edema)
เลือดไหลเวียนไม่ดี หรือมีน้ำคั่งใน
เนื้อเยื่อ
ปลายมือ ปลายเท้า
คำเเนะนำ
ยกเท้าสูงกว่าระดับสะโพกเเละนอนจะช่วยลดอาการบวมได้ นั่งเหยียดขา
นอนตะแคงซ้าย
บริหารปลายเท้า กระดกปลายเท้าขึ้น ลง และหมุนปลายเท้าเข้า ออก
หลีกเลี่ยงการสวมเสื้อผ้าที่รัดแน่นเกินไป
ควรปรึกษาแพทย์ ถ้าพบโปรตีนในปัสสาวะ ความดันโลหิตสูงเเสดงว่าเป็น HT