Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาทางจิตสังคมแก่วัยเด็ก วัยรุ่น วัยผู้ใหญ่…
การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาทางจิตสังคมแก่วัยเด็ก วัยรุ่น วัยผู้ใหญ่ และวัยผู้สูงอายุ
การขาดที่พึ่ง(Homeless)
คนไร้ที่พึ่ง หมายถึง บุคคลซึ่งไร้ที่อยู่อาศัยและไม่มีรายได้เพียงพอแก่การยังชีพและบุคคลที่มีฐานะยากจนรบุคคลที่ไม่สามารถประกอบอาชีพได้และให้รวมถึงบุคคลที่อยู่ในภาวะยากลำบากและไม่อาจพึ่งพาบุคคลอื่นได้
พระราชบัญญัติการคุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง พ.ศ.2557
บุคคลที่ประสบความเดือดร้อนอยู่ในภาวะยากลำบาก
คนเร่ร่อน
บุคคลซึ่งอาศัยที่สาธารณะเป็นที่พักนอนชั่วคราว
บุคคลที่มีสถานะทางทะเบียนราษฎรแต่ไร้สัญชาติ
บุคคลที่ไม่มีสถานะทางทะเบียนราษฎร
ปัญหาสุขภาพของคนไร้ที่พึ่ง
ปัญหาปัจจัย4
ปัญหาสุขภาพ
มีปัญหาสุขภาพจิต
การเข้าถึงระบบสุขภาพ
การดูแลบุคคลไร้ที่พึ่ง (พบเห็นทั่วไป)
ให้ข้อมูลที่จำเป็น
แจ้ง 1300 สายด่วนศูนย์ช่วยเหลือสังคม
ให้ความช่วยเหลือตามที่ช่วยได้
การดูแลผู้ป่วยจิตเวชไร้ที่พึ่ง
แจ้งหน่วยงานปกครอง
แจ้งตำรวจ
แจ้ง 1667 สายด่วนสุขภาพจิต
แจ้ง 1300 สายด่วนศูนย์ช่วยเหลือสังคม
หลักการดูแลผู้ป่วยจิตเวชไร้ที่พึ่ง
ประเมินร่างกาย
ประเมินสภาพจิต
ดูแลแบบองค์รวม
ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหลังการรักษา
การดูแลด้านร่างกายผู้ป่วยจิตเวชไรที่พึ่ง
การตรวจสุขภาพ
การกิน
สุขอนามัย
การนอนหลับ
การพักผ่อน
การออกกำลังกาย
การดูแลโรคทางกาย
การดูแลด้านร่างกายผู้ป่วยจิตเวชไรที่พึ่ง
การสร้างสัมพันธภาพ
การตรวจสภาพจิตและคัดกรองทางจิต
การดูแลบำบัดรักษาในรายที่มีความเจ็บป่วยทางจิต
การผ่อนคลายความเครียด
การส่งเสริมความมีคุณค่าในตนเอง
การฝึกการเข้าสังคม
ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเมื่อทุเลาอาการ
ภาวะวิกฤตทางอารมณ์(Emotion crisis)
ภาวะวิกฤตทางอารมณ์ หมายถึง ภาวะการรับรู้ของบุคคลแต่ละบุคคลหรือปฏิกิริยาที่มีต่อเหตุการณ์ที่เป็นภยันตรายเหตุการณ์ที่บีบคั้นต่อความสามารถในการทำหน้าที่ตามปกติหรือรบกวนต่อความสำเร็จที่เราได้ตั้งเป้าหมายไว้ในชีวิตบุคคลใช้กลไกทางจิตในการปรับตัวตามปกติแต่ไม่ได้ผลแล้วรู้สึกถึงภาวะที่ตนเองไม่สามารถที่จะทนได้อีกต่อไปเกิดความวิตกกังวล
ประเภทของภาวะวิกฤต
ประเภทของภาวะวิกฤต
วิกฤตการณ์ที่เกิดขึ้นในกระบวนการพัฒนา (Development or Maturational Crisis)
วิกฤตการณ์ ที่เกิดอย่างไม่คาดฝัน(Situational Crisis)
วิกฤตการณ์ที่เกิดจากภัยพิบัติ(Disater Crisis)
ภัยพิบัติจากธรรมชาติ(Natural Disaster)
ภัยพิบัติจากมนุษย์(Man made Disaster)
ขั้นตอนการเกิดภาวะวิกฤต
Initial Impact รู้สึกตึงเครียดเมื่อรับรู้ว่ามีปัญหาเกิดขึ้น
Defensive Retreat พยายามขจัดปัญหาโดยใช้DM
Acknowledgementเผชิญกับความเป็นจริงอย่างรอบคอบ
Resorution or disintegration ปัญหาที่คลายหรือยุ่งยากขึ้น
ลำดับเหตุการณ์ภาวะวิกฤติทางอารมณ์
ระยะก่อนเกิดภาวะวิกฤตทางอารมณ์ (Precrisis period)
ระยะวิกฤตทางอารมณ์(Crisis period)
ระยะหลังวิกฤตทางอารมณ์(postcrisis period)
องค์ประกอบในการปรับตัวต่อภาวะวิกฤต
การรับรู้ต่อเหตุการณ์
กลไกในการปรับตัวเผชิญปัญหาการเรียนรู้และประสบการณ์ต่างๆ
การได้รับความช่วยเหลือสนับสนุนให้คำแนะนำปรึกษาหรือระบายความรู้สึกในปัญหาที่สามารถแก้ไขได้
บุคลิกภาพที่เข้มแข็งเป็นบุคคลที่มองโลกในแง่ดีใจเย็นและมีสติ
ผลของภาวะวิกฤต
ความกลัว (Fear)
ความโกรธ(Anger)
ความซึมเศร้า(Depression)
การมีปฏิกิริยาตอบโต้อย่างรุนแรง (Potential for Violence)
เป้าหมายของการพยาบา
เพื่อลดอารมณ์เครียดและป้องกันไม่ให้มีความเครียดเพิ่มขึ้น
ช่วยเหลือบุคคลให้แก้ปัญหาในปัจจุบันเพื่อให้เกิดความสมดุลย์ของอารมณ์
เพื่อให้บุคคลสามารถกลับไปทำหน้าที่ได้เหมือนเดิมหรือดีกว่าเดิม
ความโกรธ (Anger)
เป็นอารมณ์ธรรมชาติของมนุษย์ที่เกิดจากความหงุดหงิดง่ายนำไปสู่ความรู้สึกที่ไม่พอใจหรืออารมณ์รุนแรงความโกรธเป็นปฏิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นที่ไม่พอใจและคุกคามสามารถเป็นแรงผลักดันด้านบวกให้บุคคลตัดสินใจและเป็นการเตรียมความพร้อมในการป้องกันตนเองและมีอาการทางกายร่วม
ความก้าวร้าว(Aggression)
เป็นพฤติกรรมที่แสดงออกที่เกิดจากความโกรธขับข้องใจรู้สึกผิดวิตกกังวลโดยมีเป้าหมายในการคุกคามหรือทำให้เกิดการบาดเจ็บและเสียหายอาจจะด้วยคำพูดหรือการกระทำ
ความไม่เป็นมิตร (Hostile)
เป็นภาวะของความเป็นปรปักษ์และมีความประสงค์ร้ายเกิดขึ้นเมื่อบุคคลรู้สึกว่าตนเองถูกคุกคามหรือขาดพลังอำนาจซึ่งอาจแสดงออกอย่างตรงไปตรงมาหรือซ่อนเร้น เช่น ใช้ถ้อยคำรุนแรง
การกระทำรุนแรง (Violence)
ป็นปฏิกิริยาของพฤติกรรมก้าวร้าวที่แสดงออกด้วยการทำร้ายหรือทำลายโดยตรงซึ่งจะเป็นอันตรายต่อตนเองผู้อื่นหรือทรัพย์สินได้เช่นการทำลาย ข้าวของ การทำร้ายร่างกาย การฆ่าผู้อื่น ทั้งฆ่าตนเอง
สาเหตุของความโกรธ
ปัจจัยทางด้านชีวภาพ(Biological factor)
สารสื่อประสาท
บาดเจ็บที่สมอง
เนื้องอกที่สมอง
น้ำตาลในเลือดต่ำ
สมองเสื่อม
ปัจจัยทางด้านจิตสังคม(Psychosocicial)
ทฤษฎีพฤติกรรมศาสตร์ (Skinner)
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสังคม (Bandura)
ทฤษฎีทางปัญญา (Beck)
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์(Freud)
กลไกทางจิตที่พบบ่อย
Protection
Displacement
Introjection
Suppression
Sublimation
วงจรของภาวะโกรธ
Triggering Phase
Escalation Phase
Crisis Phase
Recovery Phase
Post-crisis Phase
พฤติกรรมตอบโต้ต่อภาวะโกรธ
Passives behavior เมื่อมีความโกรธจะพยายามเก็บกดหรือปฏิเสธสร้างความโกรธของเค้าเอาไว้
Aggressive behavior
จะแสดงความโกรธออกมาอย่างไม่เหมาะสมเป็นพฤติกรรมเชิงทำลาย
Assertive behavior จะแสดงความโกรธออกมาเป็นพฤติกรรมเชิงสร้างสรรค์โดยจะยอมรับว่าอารมณ์หรือความรู้สึกโกรธเป็นเรื่องปกติ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความรู้สึกโกรธ
การรู้ตัวของพยาบาล (Self awareness)
สร้างสัมพันธภาพด้วยท่าทีที่เป็นมิตรสงบ มันคงใช้คำพูดที่ชัดเจนกระชับตรงไปตรงมา
จัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการบำบัด
เปิดโอกาสให้ระบายความรู้สึก
ให้การยอมรับและให้ข้อมูลว่าอารมณ์โกรธเป็นเรื่องปกติ
เมื่อมีความโกรธลดลงให้สำรวจถึงสาเหตุ
ชีแน่และให้ข้อมูลให้ผู้รับบริการเข้าใจถึงผลเสียของการแสดงความโกรธออกมาอย่างไม่เหมาะสม
ส่งเสริมให้ผู้รับบริการวางแผนหาวิธีระบายความโกรธของตนเองออกมาอย่างเหมาะสม
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพฤติกรรมก้าวร้าวและมีพฤติกรรมรุนแรง
การรู้ตัวของพยาบาล (Self awareness)
ประเมินระดับความก้าวร้าวและพฤติกรรมรุนแรง
จัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการบำบัดลดสิ่งกระตุ้น
สร้างสัมพันธภาพด้วยท่าทีเป็นมิตรสงบมั่นคงใช้คำพูดที่ชัดเจนกระชับตรงไปตรงมา
ถ้าผู้ป่วยส่งเสียงดังควรเรียกชื่อของผู้ป่วยด้วยเสียงที่ดังพอควร
อยู่ในระดับที่ปลอดภัยไม่เข้าใกล้ผู้ป่วยเฝ้าสังเกตพฤติกรรมผู้ป่วย
หลีกเลี่ยงการจ้องมองผู้ป่วยด้วยท่าทีขึงขัง
ถ้าผู้ป่วยสามารถควบคุมอารมณ์ตัวเองได้บ้างพูดคุยให้ผู้ป่วยได้ฉุกคิดเตือนสติโดยเน้นให้ผู้ป่วย
หากก้าวร้าวรุนแรงควบคุมตนเองได้น้อยพิจารณาเรียกทีมจำกัดพฤติกรรม
ห้องแยกผูกมัดเลยให้ยา
เมื่ออาการสงบเปิดโอกาสให้ระบายความรู้สึก
แนะนำวิธีการจัดการกับความโกรธเพื่อไม่ให้เกิดพฤติกรรมก้าวร้าว
จิตเวชชุมชน
จิตเวชชุมชนหมายถึงการดูแลบุคคลครอบครัวและชุมชนทางด้านสุขภาพจิตที่ครอบคลุมถึงการส่งเสริมสุขภาพจิตการป้องกันปัญหาทางจิตการบำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพทางจิตของผู้ป่วยในชุมชนโดยสนับสนุนให้ครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมเน้นบริการเชิงป้องกันอย่างต่อเนื่องครบวงจรด้วยการประสานความร่วมมือขยายเครือข่ายให้ประชาชนเข้าถึงและเท่าเทียม
หลักการจิตเวชชุมชน
ยึดตามแนวคิดหลักการสาธารณสุขมูลฐานซึ่งเน้นให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการรับรู้ปัญหาแสวงหาความรู้พิจารณาแนวทางแก้ไขจัดหาและใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุดเพื่อสุขภาพอนามัยที่ดีของบุคคลครอบครัวและชุมชน
หลักการสำคัญ3ประการ
การส่งเสริมสุขภาพจิตและป้องกันการเจ็บป่วยทางจิต
ให้การบำบัดรักษาแบบทันทีทันใด
เน้นการบำบัดในที่เกิดเหตุหรือที่บ้านมากที่สุด
องค์ประกอบสำคัญ
ผู้ป่วย/ครอบครับ
ชุมชน
ทีมสหวิชาชีพ
นโยบาย
มุ่งเน้นการดูแลในครอบครัวและชุมชน
รักษาในโรงพยาบาลเฉพาะรายที่มีอาการรุนแรง
รักษาในโรงพยาบาลระยะเวลาสั้นๆและกลับสู่ชุมชนเร็วขึ้น
เป้าหมายของบริการสุขภาพจิตและจิตเวชในชุมชน
เพื่อป้องกันการกลับมารักษาซ้ำในผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบผู้ป่วยนอก
เพื่อค้นหาผู้ป่วยที่มีอาการระยะแรกให้ได้รับการรักษาตั้งแต่ต้น
เพื่อลดความแออัดของผู้ป่วยในโรงพยาบาลจิตเวช
เพื่อประหยัดงบประมาณของโรงพยาบาลด้านการจ้างบุคลากร
เพื่อให้ผู้ป่วยได้มีโอกาสได้ใกล้ชิดกับครอบครัวและชุมชน
เพื่อให้การช่วยเหลือในเวลาที่วิกฤต
ลักษณะเฉพาะของจิตเวชชุมช
มีวัตถุประสงค์เฉพาะเพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตป้องกันปัญหาทางจิตบำบัดรักษาดูแลช่วยเหลือและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยจิตเวชในชุมชน
ลักษณะการบริการเป็นแบบต่อเนื่องและสมบูรณ์สอดคล้องตามวิถีชีวิต
เน้นการป้องกัน3ระดับ
Primary prevention พยายามลดปัจจัยที่ทำให้เกิดความผิดปกติทางจิต
Secondary prevention พยายามค้นหาข้อวินิจฉัยและรักษาผู้ป่วยให้เร็วที่สุดเพื่อลดระยะเวลาการป่วย
Tertiary Prevention ป้องกันโรคแทรกซ้อนในระยะยาวฟื้นฟูและติดตาม
การติดตามการรักษาผู้ป่วยโรคจิตในชุมชน
ทำทะเบียนผู้ป่วยเพื่อทำตารางการนัดหมายและติดตามการรักษา
ประเมินอาการโดยใช้แบบประเมินต่างๆความร่วมมือในการรับประทานยาฉีดยาและติดตามผลการรักษาทุกเดือน
ประเมินความสามารถในการทำหน้าที่ทางสังคมการทำงานการดูแลตัวเองทุก6เดือน
ประเมินคุณภาพชีวิตทุกปี
เยี่ยมบ้านเพื่อดูสัมพันธภาพของครอบครัวภาระที่เกิดจากการเจ็บป่วยความเครียดภายในบ้าน
เฝ้าระวังอาการกำเริบซ้ำพฤติกรรมรุนแรงในครอบครัวและชุมชน
สร้างความมีส่วนร่วมหลักของชุมชนในการลดอคติต่อผู้ป่วยและช่วยเหลือดูแลฝึกอาชีพ
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยในชุมชน
เสริมสร้างการปรับตัวในชุมชนเตรียมความพร้อมครอบครัวชุมชนในการดูแลผู้ป่วย
ป้องกันไม่ให้ป่วยซ้ำอีกโดยดูแลให้ยาต่อเนื่องลดปัจจัยกระตุ้นเช่นความเครียดสารเสพติดสิ่งแวดล้อม
ใช้ยาในขนาดเดิมที่ผู้ป่วยมีอาการดีขึ้นและนานถึง6เดือนเพื่อป้องกันการกำเริบซ้ำ
ให้คำปรึกษาครอบครัวลดการแสดงอารมณ์เสียต่อกันด้วยความคาดหวังทางควบคุมผู้ป่วยมากเกินไปมีความช่วยเหลือกันสำหรับครอบครัว
ประสานกับหน่วยงานด้านสังคมสงเคราะห์เพื่อจดทะเบียนผู้พิการขอความช่วยเหลือจากภาครัฐ