Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเเบบองค์รวมในการเเก้ปัญหาทางจิตสังคม เเก่วัยเด็ก วัยรุ่น …
การพยาบาลเเบบองค์รวมในการเเก้ปัญหาทางจิตสังคม
เเก่วัยเด็ก วัยรุ่น วัยผู้ใหญ่ เเละวัยสูงอายุ
การขาดที่พึ่ง (Homeless)
ความหมาย
บุคคลซึ่งไร้ที่อยู่อาศัยและไม่มีรายได้เพียงพอแก่การยังชีพ
บุคคลที่มีฐานะยากจน บุคคลที่ไม่สามารถประกอบอาชีพได้
พระราชบัญญัติการคุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง พ.ศ.2557
บุคคลที่ไม่มีสถานะทางทะเบียนราษฎร
บุคคลที่มีสถานะทางทะเบียนราษฎรแต่ไร้สัญชาติ
บุคคลซึ่งอาศัยที่สาธารณะเป็นที่พักนอนชั่วคราว
คนเร่ร่อน
บุคคลที่ประสบความเดือดร้อน
ปัญหาสุขภาพของตนไร้ที่พึง
ปัญหาปัจจัย4
มีปัญหาสุขภาพจิต
การเข้าถึงระบบสุขภาพ
ปัญหาสุขภาพ
การดูแลบุคคลไร้ที่พึ่ง
แจ้ง 1300 สายด่วนศูนย์ช่วยเหลือสังคม
ให้ความช่วยเหลือตามที่ช่วยได้
ให้ข้อมูลที่จำเป็น
การดูแลผู้ป่วยจิตเวชไร้ที่พึ่ง
แจ้ง 1300 สายด่วนศูนย์ช่วยเหลือสังคม
แจ้งตำรวจ
แจ้ง 1667 สายด่วนสุขภำพจิต
แจ้งหน่วยงานปกครอง
หลักการดูแลผู้ป่วยจิตเวชไร้ที่พึ่ง
ประเมินสภาพจิต
ประเมินร่างกาย
ดูแลแบบองค์รวม
ประสานหน่วยงำนที่เกี่ยวข้องหลังการรักษา
การดูแลด้านร่างกายผู้ป่วยจิตเวชไร้ที่พึ่ง
การกิน
สุขอนามัย
การตรวจสุขภาพ
การนอนหลับ
การพักผ่อน
การออกกำลังกาย
การดูแลโรคทางกาย
การดูแลด้านจิตใจผู้ป่วยจิตเวชไร้ที่พึ่ง
การตรวจสภาพจิตและคัดกรองทางจิต
การสร้างสัมพันธภาพ
การผ่อนคลายความเครียด
การส่งเสริมความมีคุณค่าในตนเอง
การดูแลบำบัดรักษาในรายที่มีความเจ็บป่วยทางจิต
การฝึกการเข้าสังคม
ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเมื่อทุเลาอาการ
ภาวะวิกฤตทางอารมณ์
หมายถึง
ภาวะการรับรู้ของบุคคลแต่ละบุคคลหรือปฏิกิริยาที่มีต่อเหตุการณ์ที่เป็นภยันตราย
เหตุการณ์ที่บีบคั้น ต่อความสามารถในการทำหน้าที่ตามปกติ
ประเภทของภาวะวิกฤต
วิกฤตการณ์ที่เกิดอย่างไม่คาดฝัน (Situational Crisis)
วิกฤตการณ์ที่เกิดจากภัยพิบัติ (Disaster Crisis)
วิกฤตการณ์ที่เกิดขึ้นในกระบวนการพัฒนาการ
องค์ประกอบในการปรับตัวต่อภาวะวิกฤต
บุคลิกภาพที่เข้มแข็ง (strong ego) เป็นบุคคลที่มองโลกในแง่ดีใจเย็นและมีสต
การได้รับความช่วยเหลือสนับสนุน ให้คำแนะน าปรึกษาหรือ ระบายความรู้สึกในปัญหาที่ไม่สามารถแก้ได้
กลไกในการปรับตัวเผชิญปัญหา การเรียนรู้และประสบการณ์ต่าง ๆ
การรับรู้ต่อเหตุการณ์
กิจกรรมการพยาบาล
อธิบายให้รับบริการฟังว่าอารมณ์ต่างๆที่เกิดขึ้น เช่นความรู้สึกผิด โกรธ
เศร้า เกิดขึ้นได้เมื่อเกิดภาวะวิกฤต ทางอารมณ์
ทำความกระจ่างเกี่ยวกับปัญหาที่ผู้รับบริการเผชิญ
ให้ผู้รับบริการพูดถึงความรู้สึกที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน
สร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัดเพื่อให้ผู้รับบริการรู้สึกไว้วางใจ
ความโกรธ
หมายถึง
เป็นอารมณ์ธรรมชาติของมนุษย์ที่เกิดจากความหงุดหงิดง่าย
นำไปสู่ความรู้สึกที่ไม่พอใจหรืออารมณ์รุนแรง
ความโกรธเป็นปฏิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นที่ไม่พอใจและคุกคาม
สามารถเป็นแรงผลักดันด้านบวกให้บุคคลตัดสินใจและเป็นการ
เตรียมความพร้อมในการป้องกันตนเอง และมีอาการทางกายร่วม
สาเหตุของความโกรธ
ปัจจัยทางด้านชีวภาพ (Biological factor)
บาดเจ็บที่สมอง
เนื้องอกที่สมอง
สารสื่อประสาท
(HT5, DA, NE)
น้ำตาลใน
เลือดต่ า
สมองเสื่อม
ปัจจัยทางด้านจิตสังคม (Psychosocial)
ทฤษฏีการเรียนรู้ของสังคม (Bandura)
ทฤษฏีทางปัญญา (Beck)
ทฤษฏีพฤติกรรมศาสตร์ (Skinner)
ทฤษฏีจิตวิเคราะห์ (Freud)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความรู้สึกโกรธ
จัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการบำบัด
เปิดโอกาสให้ระบายความความรู้สึก
.สร้างสัมพันธภาพด้วยท่าทีที่เป็นมิตร สงบ มั่นคงใช้
คำพูดที่ชัดเจน กระชับ ตรงไปตรงมา
ให้การยอมรับและให้ข้อมูลว่าอารมณ์โกรธเป็นเรื่องปกติ
การรู้ตัวของพยาบาล (Self awareness)
ชี้แนะและให้ข้อมูลให้ผู้รับบริการเข้าใจถึงผลเสีย
ของการแสดงความโกรธออกมาอย่างไม่เหมาะสม
เมื่อความโกรธลดลงให้สำรวจถึงสาเหตุ
ส่งเสริมให้ผู้รับบริการวางแผนหาวิธีระบายความ
โกรธของตนออกมาอย่างเหมาะสม
จิตเวชชุมชน
หมายถึง
การดูแลบุคคล ครอบครัวและชุมชนทางด้านสุขภาพจิต
ครอบคลุมถึงการส่งเสริมสุขภาพจิต การป้องกันปัญหาทางจิต
การบำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพทางจิตของผู้ป่วยในชุมชน
องค์ประกอบสำคัญ
ชุมชน
ทีมสหวิชาชีพ
ผู้ป่วย / ครอบครัว
ลักษณะเฉพาะของจิตเวชชุมชน
มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิต ป้องกันปัญหาทางจิตบำบัดดูเเลช่วยเหลือ เเละฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยจิตเวชในชุมชน
ลักษณะการบริการเป็นแบบต่อเนื่องและสมบูรณ์ สอดคล้องตามวิถี
ชีวิต
เน้นการป้องกันทั้ง 3 ระดับ
Primary prevention พยายามลดปัจจัยที่ท าให้เกิดความผิดปกติทาง
จิต
Secondary prevention พยายามค้นหา วินิจฉัยและรักษาผู้ป่วยให้
เร็วที่สุด เพื่อลดระยะเวลาการป่วย
Tertiary prevention ป้องกันโรคแทรกซ้อนในระยะยาว ฟื้นฟูและ
ติดตาม
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยในชุมชน
ป้องกันไม่ให้ป่วยซ้าอีก โดย ดูแลให้ยาต่อเนื่อง ลดปัจจัยกระตุ้น เช่น ความเครียด สาร
เสพติด สิ่งแวดล้อม เป็นต้น
ใช้ยาในขนาดเดิมที่ผู้ป่วยมีอาการดีขึ้น และนานถึง 6 เดือน เพื่อป้องกันอาการกำเริบซ้ า
เสริมสร้างการปรับตัวในชุมชน / เตรียมความพร้อมครอบครัว ชุมชน ในการดูแลผู้ป่วย
ให้คำปรึกษาครอบครัว ลดการแสดงอารมณ์เสียต่อกัน
ประสานกับหน่วยงานด้านสังคมสงเคราะห์ เพื่อจดทะเบียนผู้พิการ
ขอความช่วยเหลือจากภาครัฐ
นางสาวจันทิมา คามะปะใน เลขที่ 13 รหัส 612701013