Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาทางจิตสังคมแก่วัยเด็ก วัยรุ่นวัยผู้ใหญ่…
การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาทางจิตสังคมแก่วัยเด็ก วัยรุ่นวัยผู้ใหญ่ และวัยผู้สูงอายุ
ภาวะวิกฤตทางอารมณ์
ประเภทของภาวะวิกฤต
๑. วิกฤตการณ์ที่เกิดขึ้นในกระบวนการพัฒนาการ (Developmental or Maturational Crisis)
๒. วิกฤตการณ์ที่เกิดอย่างไม่คาดฝัน (Situational Crisis)
ขั้นตอนการเกิดภาวะวิกฤต
ขั้นตอนที่ ๑ Initial Impact ข้นั เริ่ มตน้ ของการเกิดการวิกฤต
ขั้นตอนที่ ๒ Defensive Retreat ข้นั ที่บุคคลพยายามขจดั ปัญหา
ขั้นตอนที่ ๓ Acknowledgement ข้นั ที่บุคคลเผชิญกบั ความเป็ นจริง
ขั้นตอนที่ ๔ Resolution or disintegration ปัญหาคลี่คลายหรือยุ่งยากข้ึน
องค์ประกอบในการปรับตัวต่อภาวะวิกฤต
๑. การรับรู้ต่อเหตุการณ์ที่ถูกต้อง ตรงตามความเป็ นจริง
๒. กลไกในการปรับตัวเผชิญปัญหา การเรี ยนรู้และประสบการณ์ต่าง ๆ
๓. การได้รับความช่วยเหลือสนับสนุน ให้คำแนะนำปรึกษาหรือระบายความรู้สึกในปัญหาที่ไม่สามารถแก้ได
๔. บุคลิกภาพที่เข้มแข็ง (strong ego) เป็ นบุคคลที่มองโลกในแง่ดี ใจเย็นและมีสติ
ผลของภาวะวิกฤต
๑. ความกลัว (Fear) ส่วนมากจะมีความกลัวต่อบุคคล สถานที่ หรือสถานการณ์ต่าง ๆ
๒. ความโกรธ (Anger) เป็ นความโกรธที่ไม่สมเหตุสมผล ซึ่งจะแสดงพฤติกรรมต่อต้าน
๓. ความซึมเศร้า (Depression) บุคคลจะแสดงออกต้งั แต่การมีอารมณ์อ่อนไหว ร้องไห้ง่าย
๔. การมีปฏิกิริยาตอบโต้อย่างรุนแรง (Potential for Violence)
การขาดที่พึ่ง (Homeless)
หมายความถึง บุคคลซึ่งไร้ที่อยู่อาศัยและไม่มีรายได้เพียงพอแก่การยังชีพ บุคคลที่มีฐานะยากจน บุคคลที่ไม่สามารถประกอบอาชีพได้ และให้รวมถึงบุคคล ที่อยู่ในสภาวะยากลำบาก และไม่อาจพึ่งพาบุคคลอื่นได้
คนไร้ที่พึ่งนั้นมีอยู่ 5 ประเภท
1) บุคคลที่ประสบความเดือดร้อน
2) คนเร่ร่อน
3) บุคคลซึ่งอาศัยที่สาธารณะเป็นที่พักนอนชั่วคราว
4) บุคคลที่มีสถานะทางทะเบียนราษฎรแต่ไร้สัญชาติ
5) บุคคลที่ไม่มีสถานะทางทะเบียนราษฎร
การดูแลด้านร่างกายผู้ป่วยจิตเวชไร้ที่พึ่ง
การสร้างสัมพันธภาพ
การตรวจสภาพจิตและคัดกรองทางจิต
การดูแลบำบัดรักษาในรายที่มีความเจ็บป่วยทางจิต
การผ่อนคลายความเครียด
การส่งเสริมความมีคุณค่าในตนเอง
การฝึกการเข้าสังคม
ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเมื่อทุเลาอาการ
ความโกรธ (Anger)
คำใกล้เคียงกันที่ควรรู้จัก
โกรธ (Anger)
ก้าวร้าว (Aggression)
ไม่เป็นมิตร (Hostile)
ความรุนแรง (Violence)
พฤติกรรมตอบโต้ต่อภาวะโกรธ
Passive behavior เมื่อมีความโกรธจะพยายามเก็บกดหรือ ปฏิเสธหรือซ่อนความโกรธของเขาเอาไว้
Aggressive behavior จะแสดงความโกรธออกมาอย่างไม่ เหมาะสม เป็นพฤติกรรมเชิงทำลาย
Assertive behavior จะแสดงความโกรธออกมาเป็น พฤติกรรมเชิงสร้างสรรค์ (Constructive behavior) โดยจะยอมรับว่าอารมณ์หรือความรู้สึกโกรธ เป็นเรื่องปกติ
ผู้ป่วยจิตเวชที่มีความเสี่ยงสูงต่อการก่อความรุนแรง
ผู้ป่วยจิตเวชที่มีความเสี่ยงสูงต่อการก่อความรุนแรง ได้แก่ ผู้ป่วยโรคจิตเภท โรคซึมเศร้าและโรคอารมณ์สองขั้ว ที่มีภาวะอันตรายสูง และที่มี ความเสี่ยงที่จะเกิดอันตรายสูง โดยมีเกณฑ์จำแนก ดังนี้
มีประวัติทำร้ายตัวเองด้วยวิธีรุนแรงมุ่งหวังให้เสียชีวิต
มีประวัติทำร้ายผู้อื่นวิธีรุนแรง/ก่อเหตุการณ์รุนแรงในชุมชนผู้ป่วยที่มีอาการหลงผิด
มีความคิดทำร้ายผู้อื่นให้ถึงแก่ชีวิต หรือมุ่งร้ายผู้อื่นแบบเฉพาะเจาะจง เช่น ระบุชื่อบุคคลที่จะมุ่งทำร้าย เคยมีประวัติก่อคดีอาญารุนแรง (ฆ่า พยายามฆ่า ข่มขืน วางเพลิง)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความรู้สึกโกรธ
1.การรู้ตัวของพยาบาล (Self awareness)
2.สร้างสัมพันธภาพด้วยท่าทีที่เป็นมิตร สงบ มั่นคง ใช้คำพูดที่ชัดเจน กระชับ ตรงไปตรงมา
3.จัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการบำบัด
4.เปิดโอกาสให้ระบายความความรู้สึก
5.ให้การยอมรับและให้ข้อมูลว่าอารมณ์โกรธเป็นเรื่องปกต
จิตเวชชุมชน
เป็นการส่งเสริมสุขภาพจิตและป้องกันการเจ็บป่วยทางจิตแก่ประชาชนในชุมชน โดยวิธการลด ขจัด ป้องกนั และฟื้นฟูเพื่อลดอัตราการเกิดผู้ป่วยใหม่ ลดอัตราผู้ป่วยในชุมชน และลดความพิการที่เกิดจากการเจ็บป่วย
เป้าหมายของบริการสุขภาพจิตและจิตเวชในชุมชน
เพื่อป้องกันการกลับมารักษาซ้าในผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบผู้ป่วยนอก
เพื่อค้นหาผู้ป่วยที่มีอาการระยะแรกให้ได้รับการรักษา
เพื่อลดความแออัดของผู้ป่วยในโรงพยาบาลจิตเวช
เพื่อประหยัดงบประมาณของโรงพยาบาลด้านการจ้างบุคลากร
เพื่อให้ผู้ป่วยได้มีโอกาสใกล้ชิดกับครอบครัวและชุมชน
เพื่อให้การช่วยเหลือในเวลาที่วิกฤต
เป้าหมายของบริการสุขภาพจิตและจิตเวชในชุมชน
บริการให้คำปรึกษาทางโทรศัพท์
บริการคลินิกสุขภาพจิต (Mental Health Clinic)
บริการคลินิกจิตเวชเคลื่อนที่ (Mobile Clinic)
บริการช่วยเหลือภาวะวิกฤตทางใจ (Crisis Intervention Service)