Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 เครื่องมือวิจัย : Research Instrument, นางสาววริศรา ริมบู…
บทที่ 7 เครื่องมือวิจัย :
Research Instrument
ความหมายและความสำคัญของเครื่องมือ
ความหมาย
หมายถึง เครื่องมือ อุปกรณ์ หรือสิ่งที่ใช้ เป็นสื่อสำหรับนักวิจัย ใช้ในการรวบรวมข้อมูลตามตัวแปรในการวิจัยที่กำหนดไว้ ข้อมูลดังกล่าวอาจเป็นได้ทั้งข้อมูลเชิงปริมาณและข้อมูลเชิงคุณภาพ เครื่องมือการวิจัยนับเป็นส่วนหนึ่งของการวิจัยทุกชนิด ไม่ว่าจะเป็นการศึกษาเฉพาะกรณีการวิจัยเชิงสำรวจ การวิจัยเชิงทดลอง
ความสำคัญ
เป็นตัวเชื่อมระหว่างปัญหา วัตถุประสงค์และสมมติฐานในการวิจัยกับ ข้อมูลที่จะนำมาใช้เป็นหลักฐาน
ช่วยให้การรวบรวมข้อมูลกระชับ ตรงประเด็น ต่อเนื่อง เป็นขั้นตอน ซึ่งจะช่วยลดความผิดพลาดของการรวบรวมข้อมูล
ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ซึ่งเป็นส่วนประกอบสำคัญของการวัดการประเมินตัวแปรในการวิจัย
ช่วยในการจัดเตรียมข้อมูล เพื่อให้การวิเคราะห์ง่ายขึ้น เช่น การจัดหมวดหมู่ข้อมูลการสร้างรหัสข้อมูลและคู่มือลง รหัส และการวางแผนการใช้สถิติในการวิเคราะห์
ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือวิจัย
การเขียนคำถามและวางรูปแบบเครื่องมือการวิจัย
ตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวิจัย
วิเคราะห์นิยามเชิงปฏิบัติการของตัวแปรการวิจัย
ปรับปรุงเครื่องมือการวิจัย
ศึกษาคนความแนวคิดทฤษฎีและรายงานการวิจัย
ทดสอบเครื่องมือ
วิเคราะห์ปัญหาวัตถุประสงค์ของการวิจัยสมมติฐานและกรอบแนวคิดในการวิจัย
ตรวจสอบและปรับปรุงคุณภาพของเครื่องมือวิจัย
กำหนดกรอบของตัวแปรเครื่องมือการวิจัย
พิจารณากลุ่มคำถามและความต่อเนื่องของคำถาม
การสร้างเครื่องมือวิจัยประเภทต่างๆ
การสร้างเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล
2 แบบปลายปิดหรือแบบมีโครงสร้าง เป็นข้อคำถามที่กำหนดตัวเลือกคำตอบไว้ชัดเจน เพื่อให้ผู้ตอบเลือกได้ตรงกับความเป็นจริงหรือความรู้สึก
ข้อดี
-ครอบคลุมเนื้อหาที่ต้องการถาม
-สามารถวิเคราะห์ได้อย่างไม่ยุ่งยาก
ข้อเสีย
-จำกัดขอบเขตของคำตอบ
เทคนิคและวิธีการรวบรวมข้อมูลแตกต่างกัน
แบบสอบถาม จะมีคำถามในลักษณะปลายปิดมากกว่าปลายเปิดและเน้นการวางรูปแบบที่สะดวกสำหรับผู้ตอบ
แบบสัมภาษณ์ จะมีคำถามในลักษณะปลายเปิดมากกว่าปลายปิดการวางรูปแบบจะเน้นความสะดวกในการถามการต่อและการบันทึก
แบบสังเกต จะเป็นแบบฟอร์มบันทึกผลการสังเกตตัวตามตัวแปรและประเด็นที่ต้องการรวบรวมข้อมูล
บทปลายเปิด (Open-ended/Opened Form) ประกอบด้วยข้อความหรือข้อคำถามที่เปิดโอกาสให้ผู้ตอบขยายความคิด
ข้อดี
-ได้รายละเอียดมาก
-ไม่จำกัดขอบเขตของคำตอบข้อเสีย
ข้อเสีย
-ยากต่อการวิเคราะห์แปลผล
การออกแบบสอบถามแบบสอบถาม โดยส่วนใหญ่จะมีโครงสร้างอยู่ 3 ส่วน ได้แก่
ส่วนที่ 2 ข้อมูลส่วนตัวเป็นข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับผู้ตอบคำถามเช่นเพศอายุระดับการศึกษาสถานภาพศาสนาเป็นต้นโดยมากมักใช้เป็นตัวแปรอิสระในงานวิจัยนอกจากนี้ไม่นิยมให้ผู้ตอบแบบสอบถามกรอกชื่อและนามสกุลของตนเอง
ส่วนที่ 3 ข้อมูลในส่วนที่ต้องการศึกษาอาจเป็นคำถามปลายปิดหรือปลายเปิดก็ได้อาจเป็นการแสดงความคิดเห็นทัศนคติหรือข้อเท็จจริงของแต่ละบุคคล
ส่วนที่ 1 คำชี้แจงเป็นการอธิบายถึงวัตถุประสงค์ของการเก็บรวบรวมข้อมูลจากการนำข้อมูลไปใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างไร
หลักในการสร้างแบบสอบถาม
ต้องตั้งคำถามให้ตรงตามจุดมุ่งหมายที่ตั้งไว้ไม่ถามนอกประเด็น
ต้องมีจุดหมายที่แน่นอนว่าต้องการถามอะไรบ้าง
ต้องถามให้ครอบคลุมถึงเรื่องที่จะวัด
การเรียงลำดับข้อคำถามควรเรียงให้ต่อเนื่องสัมพันธ์กันลักษณะของพ่อมึงถามที่ดี
เครื่องมือทางสังคมศาสตร์และสัตว์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
แบบบันทึกข้อมูลหรือแบบบันทึกการสังเกต
-ใช้บันทึกข้อมูลทุติยภูมิ เช่นข้อมูลจากความจำเป็นพื้นฐาน
แบบทดสอบหรือแบบวัดความรู้
-เป็นชุดคำของคำถามที่ใช้วัดความรู้ ความจำความเข้าใจเฉพาะเรื่อง
แบบตรวจสอบรายการ
-ชุดของรายการหรือแนวปฏิบัติที่ผู้วิจัยใช้ประกอบการสังเกตพฤติกรรมหรือการปฏิบัติเฉพาะเรื่องแบบตรวจสอบรายการชุดของคำถามที่กำหนดให้มีการตอบสนองแนวเช่นมีหรือไม่มีใช่หรือไม่ใช่
แบบสัมภาษณ์
-มักไม่ละเอียดและสามารถปรับเปลี่ยนข้อคำถามตามความเหมาะสม
-เป็นคำถามที่ผู้วิจัยกำหนดขึ้นเพื่อเป็นแนวทางในการสัมภาษณ์
แบบสอบถาม
-เป็นชุดของคำถามเพื่อถามเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
-นิยมใช้ในการเก็บข้อมูลปฐมภูมิใช้ง่ายประหยัดเวลาและงบประมาณ
-มักผสมผสานแบบทดสอบและแบบวัดสเกลเข้าไปด้วย
วิธีการตรวจทางห้องปฏิบัติการแบบประเมินความเสี่ยงเฉพาะโรคหรือกลุ่มอาการ
2 เป็นวิธีการตรวจที่ใช้ในห้องปฏิบัติการทางวิธีมาตรฐานและวิธีที่พัฒนาขึ้นโดยทราบความไวและความจำเพาะ
3 แบบฟอร์มของรายการประเมินพฤติกรรมเสี่ยงเฉพาะโรคที่ได้จากการวิจัยทางระบาดที่ทราบความไวและความจำเพาะแล้ว
มีอยู่ทั่วไปก่อนใช้ต้องมีการปรับเทียบ เช่น เครื่องชั่ง ตวง วัด
การเลือกใช้เครื่องมือหรือวิธีการในการวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ
3.วิธีทดสอบทำง่ายให้ผลรวดเร็ว (Rapid test)
4.เครื่องมือถือวิธีการมีราคาไม่แพงน้ำยามีความคงทนไม่เสื่อมสลายง่าย สารเคมีหาซื้อง่ายสะดวก
2 เลือกเครื่องมือที่ให้ค่าความน่าเชื่อถือหรือไม่จำดี (Good Reliability or Good Precision )
5.ใช้ตัวอย่างปริมาณน้อยได้สามารถทำได้ครั้งละหลายตัวอย่างพร้อมกัน
1 เลือกเครื่องมือที่มีความถูกต้อง (Validity) สูงคือเลือกวิธีการหรือเครื่องมือที่มีความไวและความจำเพาะสูงทั้งคู่หรือมีค่าประสิทธิภาพของเครื่องมือสูง
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย
2 การตรวจสอบความตรงโดยผู้เชี่ยวชาญเฉพาะเรื่อง
ซึ่งประกอบด้วย
ผู้ที่รู้จักคดีที่ใช้ในการทำวิจัย
-ผู้ที่รู้เรื่องเนื้อหาสาระที่จะกระทำวิจัย
3 การตรวจสอบความตรงโดยวิธีอื่นๆโดยส่วนใหญ่จะใช้วิธีทางสถิติเช่น
3.2 การใช้วิธี Know group technique เป็นการเปรียบเทียบผลที่ได้จากการนำเครื่องมือไปทดสอบกับกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่มีคุณภาพตามตัวแปรที่ต้องการศึกษา และกลุ่มที่ไม่มีคุณสมบัติตามตัวแปรที่ต้องการศึกษา
3.1 การหาค่าสหสัมพันธ์ภายในของเครื่องมือ โดยการหาความสอดคล้องระหว่างคะแนนของคำถามแต่ละข้อกับคะแนนของคำถามทั้งหมดถ้าข้อสอบถามได้ที่มีค่าสหสัมพันธ์กับคะแนนรวมสูงแสดงว่ามีความตรงสูง
1 การตรวจสอบความตรงโดยนักวิจัย
เพื่อพิจารณาความสอดคล้องของประเด็นต่างๆ
คุณลักษณะของเครื่องมือวิจัยที่ดี
คุณภาพของเครื่องมือขึ้นอยู่กับลักษณะสำคัญที่ต้องพิจารณา
อำนาจจำแนก
ปฏิบัติจริงได้
ความเป็นปรนัย
ยุติธรรม
ความเชื่อมั่น
ประสิทธิภาพ
ความเที่ยงตรง
เครื่องมือทุกชนิดหรือทุกชิ้นต้องตรวจสอบคุณภาพทุกประเด็น ลักษณะหรือคุณสมบัติบางประการ อาจไม่ตรวจสอบก็ได้ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับชนิดหรือประเภทของเครื่องมือ
นางสาววริศรา ริมบู ชั้นปีที่ 3 612901072