Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การปฐมพยาบาลด้านจิตใจด้วยหลักการ EASE, 3ต, pngtree-female-massage-vector…
การปฐมพยาบาลด้านจิตใจด้วยหลักการ EASE
สร้างสัมพันธภาพและการเข้าถึงจิตใจของผู้ได้รับผลกระทบ (Engagement: E)
a. การสังเกตภาษาท่าทางและพฤติกรรม
สีหน้า แววตา ท่าทาง
การเคลื่อนไหวของร่างกาย
นั่งนิ่งไม่ขยับ เดินไปเดินมา
b. การสร้างสัมพันธภาพ
c.เริ่มพูดคุยเบื้องต้นเมื่อผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤตมีความพร้อม
“ตอนนี้รู้สึกเป็นอย่างไรบ้าง”
วิธีการประเมินผู้ได้รับผลกระทบ (Assessment: A)
a. ประเมินและตอบสนองความต้องการทางด้านร่างกาย
การได้รับบาดเจ็บทางด้านร่างกาย =บรรเทาความเจ็บปวดด้วยการให้ยา
มีอาการอ่อนเพลีย =จัดหาน้ำให้ดื่มหาอาหารให้รับประทาน
เป็นลม = ควรจัดหายาดมแอมโมเนีย ผ้าเย็นเช็ดหน้าและแขน
อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ไม่ปลอดภัย =ให้เคลื่อนย้ายผู้ประสบภาวะวิกฤตไปอยู่ในที่ปลอดภัย
b. ประเมินสภาพจิตใจ
ภาวะช็อกและปฏิเสธ
การดูแลทางกาย ให้อยู่ในสถานที่ที่สงบ
การดูแลทางจิตใจ ให้ผู้ประสบภาวะวิกฤตระบายความรู้สึก
การช่วยเหลือทางสังคม ให้ความช่วยเหลือต้องการเร่งด่วน
ภาวะโกรธ
การดูแลทางกาย ยอมรับพฤติกรรมที่แสดงออกมาของผู้ประสบภาวะวิกฤต
การดูแลทางใจ
พูดสะท้อนอารมณ์
การฟังอย่างตั้งใจ (Active Listening Skill)
ภาวะต่อรอง
อดทน รับฟัง
สนองความต้องการในสิ่งที่สามารถให้ได้
ให้ข้อมูลที่ถูกต้องเป็นจริงตามความเหมาะสม
ภาวะเสียใจ
ช่วยเหลือทางกาย
ฝึกหายใจแบบ Breathing Exercise
ใช้การสัมผัส (Touching) เช่น การนวด ผ่อนคลาย
โดยหาผ้าเช็ดหน้า น้ำเย็น
ประเมินภาวะฆ่าตัวตาย
รับฟังมากขึ้น ยอมรับข้อมูล
อารมณ์สงบ
ลดการต่อรองลง ยอมรับความจริงมากขึ้น
อาจมีการหดหู่ ท้อแท้ ไม่มีกำลังใจ
c. ประเมินความต้องการทางสังคม
ต้องการพบญาติ หรือ ครอบครัวให้ติดต่อประสานโดยการโทรศัพท์
ผู้ประสบภาวะวิกฤตไร้ญาติขาดมิตร ประสานกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน มูลนิธิ หรือวัด
ต้องการความช่วยเหลือด้านการเงิน ทุนการศึกษา ให้ติดต่อหน่วยงานต่างๆ
วิธีการเรียกขวัญคืนสติลดความเจ็บปวดทางใจเสริมสร้างทักษะ (Skills: S)
b.การสัมผัส (Touching skill )
การสัมผัสทาง แตะมือ บีบนวดเบาๆ
คำนึงถึงความเหมาะสม เพศ วัย สังคมและวัฒนธรรม
c. ทักษะการ Grounding
การช่วยให้ผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤตที่มีอารมณ์ท่วมท้น (overwhelmed feeling) กลับมาอยู่กับความเป็นจริง
เรียกสติและจิตใจหันกลับมาอยู่กับความเป็นจริง
d. การนวดสัมผัส และ การนวดกดจุดคลายเครียด
เสริมสร้างความรู้สึกอบอุ่นใจ มั่งคงปลอดภัย
ต้องประเมินในการใช้ทักษะตามความเหมาะสม
a. การฝึกกำหนดลมหายใจ (Breathing exercise)
เกิดความผ่อนคลายทางอารมณ์
ลดอาการใจสั่น หายใจถี่แรง
e. การลดความเจ็บปวดทางใจ
1) การฟังอย่างใส่ใจ (Active Listening)
2) การสะท้อนความรู้สึก
3) การเงียบ
4) การทวนซ้ำ
f. การเสริมสร้างทักษะ
ช่วยลดความกังวล
พักผ่อนเพียงพอ
ออกกำลังกายพอสมควร
ทำกิจกรรมที่มีความสุข
การดูโทรทัศน์หรือภาพยนตร์
หาที่ปรึกษา
วิธีการให้สุขภาพจิตศึกษาและข้อมูลที่จำเป็น (Education)
ต.1 ตรวจสอบความต้องการ
สอบถามข้อมูลและตรวจสอบความต้องการช่วยเหลือทีจำเป็นและเร่งด่วน
วางแผนสนับสนุนแหล่งข้อมูล
การช่วยเหลือด้านสังคม ด้านจิตใจ
ต.2 เติมเต็มความรู้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอาการที่เกิดขึ้นจากความเครียด และผลกระทบทางจิตใจ
บอกวิธีการปฏิบัติตัวเพื่อลดความเครียด แหล่งช่วยเหลือต่างๆ เช่น เงินทุน สิทธิประโยชน์
ต.3 ติดตามต่อเนื่อง
ร่วมกันวางแผนและหาแนวทางในการรับการช่วยเหลือต่างๆ เพิ่มเติม
ติดตามโดยการนัดหมาย
สถานบริการสาธารณสุข
การโทรศัพท์ติดตามผล
การเยี่ยมบ้าน
3ต