Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย - Coggle Diagram
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย
ลักษณะของระบบศาลไทย
ระบบศาลในต่างประเทศ
ศาลระบบเดี่ยว
ระบบที่ให้ศาลยุติธรรมมีอำนาจวินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาททุกประเภท
ศาลระบบคู่
ระบบที่ให้ศาลยุติธรรมมีอำนาจวินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาทเฉพาะคดีแพ่งและคดีอาญาเท่านั้น
ศาลของประเทศไทย
3.ศาลปกครอง
มีอำนาจในการพิจารณาพิพากษาคดีในทางปกครอง ซึ่งเป็นคดีพิพาทระหว่างหน่วยราชการ หน่อยงานรัฐ รัฐวิสาหกิจ
เพื่อปกป้องคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน
เพื่อสร้างบรรทัดฐานที่ถูกต้องในการปฏิบัติราชการ
รูปแบบพิจารณาคดีใช้ "ระบบไต่ส่วน"
1.ศาลรัฐธรรมนูญ
มีอำนาจพิจารณาวินิจฉัยปัญหาข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับรัฐธนนมนูญ แต่ไม่มีอำนาจหน้าที่พิจารณาอรรถคดีทั่วไป
4.ศาลทหาร
มีอำนาจหน้าที่ในการพิจารณาพิพากษาคดีที่ทหารกองประจำการกระทำผิด ตามกฎหมายพระธรรมนูณศาลทหาร
2.ศาลยุติธรรม
ศาลที่มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีทั้งปวง เว้นแต่คดีที่รัฐธรรมนูญให้อยู่ในอำนาจของศาลอื่น ศาลยุติธรรมมีรูปแบบการพิจารณาคดีด้วย "ระบบกล่าวหา" ศาลยุติธรรมมี 3 ชั้น
2.2ศาลอุทธรณ์(Appeal Court)
การตัดสินคดีจะเป็นไปในลักษณะยืนยาม แก้ไข ยกคำพิพากษาของศาลขั้นต้น
มีอำนาจชี้ขาดคำร้องขออุทธรณ์ของคู่กรณี หากคู้กรณียังไม่พอใจคำตัดสินชั้นอุทธรณ์
สูงกว่าศาลชั้นต้น พิจารณาตัดสินคดีที่ศาลชั้นต้นได้ตัดสินแล้ว แต่คู่ความยังต้องการความเป็นธรรม
2.3ศาลฎีกา(Superme Court)
ศาลยุติธรรมสูงสุด มีเพียงศาลเดียวตั้งอยู่ในกรุงเทพมหานคร มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีที่อุทธรณ์คำพิพากษา การวินิจฉัยชี้ขาดของศาลฎีกา ถือเป็นที่สุด
2.1 ศาลชั้นต้น(Civil court):
ศาลยุติธรรมที่พิจารณาและชี้ขาดตัดสินคดีในชั้นเเรก ได้แก่ ศาลแพ่ง ศาลอาญา
ลักษณะของกฎหมายและประเภทของกฏหมาย
ระบบของกฎหมาย เเบ่งเป็น 2 ระบบใหญ่
1.ระบบกฎหมายจารีตประเพณี/ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร
คำพิพากษาของศาลถือเป็นกฎหมาย การพิพากษาคดียึดตามคำพิพากษาเดิม
2.ระบบกฎหมายลายลักษณ์อักษร/ประมวลกฎหมาย
รัฐสภาเป็นผู้ออกกฏหมาย ศาลต้องพิพากษาตามตัวบทกฎหมาย
ลักษณะของกฎหมาย
2.กฎหมายต้องกำหนดขึ้นโดยรัฐหรือผู้มีอำนาจ
เป็นคำสั่ง ข้อบังคับ ของผู้มีอำนาจในรัฐ เช่น รัฐสภา รัฐบาล องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
3.กฎหมายต้องบังคับใช้โดยทั่วไป
เมื่อมีการประกาศใช้เเล้วทุกคนต้องอยู่ภายใต้กฎหมาย โดยเสมอภาค
1.กฎหมายต้องมีลักษณะเป็นเกณฑ์
ข้อบังคับที่เป็นมาตรฐาน ใช้วัดหรือกำหนดความประพฤติของคนในสังคมว่าถูกหรือผิด
4.กฎหมายต้องมีสภาพบังคับ
สภาพบังคับนั้นมีทั้งผลดีและผลร้าย
สภาพบังคับที่มีผลร้าย
โทษทางอาญา
3.กักขัง
4.ปรับ ชำระเงินตามจำนวนที่กำหนด กรณีเด็ก จะกักขังแทนค่าปรับไม่ได้ แต่จะส่งตัวไปควบคุมและอบรม เช่น ในสถานพินิจ
2.จำคุก
5.การริบทรัพย์สิน
1.ประหารชีวิต
สภาพบังคับที่มีผลดี
กรณีจดทะเบียนสมรส ทำให้บุตรเป็นบุตรที่ชอบด้วยกฎหมาย สามารถใช้สิทธิของคู่สมรสไปลดหย่อยภาษีได้
ประเภทของกฎหมาย
กฎหมายที่แบ่งตามสิทธิประโยชน์และความสัมพันธ์ของบุคคล
1.กฎหมายมหาชน(Public law)
กฎหมายที่บัญญัติความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับประชาชน
กฎหมายอาญา: บัญญัติเกี่ยวกับการกระทำผิดและบทลงโทษ
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา: กฎหมายว่าด้วยกระบวนการดำเนินคดี
กฎหมายปกครอง: กฎหมายกำหนดการปกครองประเทศ
กฎหมายศาลยุติธรรม: บัญญัติถึงการจัดตั้งศาล อำนาจศาล และผู้พิพากษาคดี
กฎหมายรัฐธรรมนูญ: กฎหมายสูงสุดที่ใช้ปกครองประเทศ
2.กฎหมายเอกชน(Private Law)
กฎหมายที่บัญญัติความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนกับเอกชน
กฎหมายพาณิชย์: บัญญัติเกี่ยวกับการค้าขาย หุ้นส่วน บริษัท การประกันภัย และตั๋วเงิน
กฎหมายวิธีพิจารณาความเเพ่ง: บัญญัติเกี่ยวกับการดำเนินคดี การกำหนดให้ฝ่ายผิดปฏิบัติตามคำพิพากษา
กฎหมายแพ่ง: บัญญัติเกี่ยวกับวิถีชีวิตปรพจำวันของประชาชน
อื่นๆ: พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ กฎหมายเเรงงาน กฎหมายประกันสังคม
3.กฎหมายระหว่างประเทศ(International Law)
แผนกคดีเมือง กฎหมายที่กำหนดความสัมพันธ์ของรัฐเกี่ยวกับสิทธิและหน้าที่มหาชน ทั้งเรื่องเขตแดน การฑูต การทำสนธิสัญญา
แผนกคดีบุคคล กฎหมายที่กำหนดความสัมพันธ์ของบุคคลต่างรัฐ ในทางเเพ่งเกี่ยวกับความประพฤติ สิทธิและหน้าที่ เช่น สัญชาติ ภูมิลำเนา การสมรส การทำนิติกรรมและทรัพย์สิน
แผนกคดีอาญา พิจารณาว่าประเทศใดมีอำนาจจับกุมและพิพากษาเพื่อลงโทษบุคคลนั้น
กฏหมายที่เเบ่งโดยเเหล่งกำเนิดของกฎหมาย
1.กฎหมายภายใน
รัฐมีอำนาจในการบัญญัติกฎหมาย
2.กฎหมายภายนอก
กฎหมายที่บัญญัติขึ้นโดยองค์กรระหว่างประเทศ เช่น สนธิสัญญา อนุสัญญา
กฎหมายที่แบ่งโดยเจตนารมณ์ และเนื้อหาของกฎหมาย
กฎหมายระเบียบราชการ
กฎหมายการเงินการคลัง
กฎหมายธุรกิจ
กฎหมายสาธารณสุข
กฎหมายอุตสาหกรรม
กฎหมายที่แบ่งโดยลักษณะการใช้กฎหมาย
1.กฎหมายสารบัญญติ
กฎหมายที่กำหนดสิทธิหรือหน้าที่ให้บุคคลปฏิบัติ เช่น กฎหมาย เเพ่งและพาณิชย์ กฎหมายอาญา กฎหมายคุ้มครองเเรงงาน
2.กฎหมายวิธรสบัญัญติ
กฎหมายเกี่ยวกับวิธีการพิจารณาคดีของศาล เช่น วิธีพิจารณาความแพ่ง วิธีพิจารณาความอาญา
กฎหมายที่แบ่งโดยสภาพบังคับทางกฎหมาย
เช่น กฎหมายแพ่ง กฏหมายอาญา กฎหมายปกครอง เป็นต้น
ความหมายของกฎหมาย
กฎหมาย คือ ระเบียบ กฎเกณฑ์ ข้อบังคับ เพื่อควบคุมพฤติกรรม ที่อาจก่อให้เกิดความไม่เป็นระเบียบ ไม่สงบ หากผู้ใดฝ่าฝืนต้องได้รับโทษตามที่กฎหมายกำหนด
ลำดับขั้นหรือศักดิ์ของกฎหมาย
4.กฎกระทรวง (Ministerial Regulation)
กฎหมายที่ออกโดยฝ่ายบริหาร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างๆ ไม่ต้องผ่านการเห็นชอบจากรัฐสภา แต่ต้องผ่านการเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี จึงบังคับใช้กับประชาชนทั่วไป
5.ระเบียบ และข้อบังคับ (Rule/Regulation/Discipline)
กฎหมายที่ออกโดยหัวหน้าหน่วยงานองค์กร ผ่านความเห็นชอบจากผู้บริหารหน่วยงาน
3.พระราชกฤษฎีกา (Royal Decree)
กฎหมายที่กำหนดรายละเอียดที่เป็นหลักย่อยของพระราชบัญญัติ ออกโดยผู้บริหารที่อาศัยอำนาจรัฐธรรมนูญ มีอำนาจใช้บังคับประชาชนทั่วไป แต่ไม่สามารถมีบทลงโทษ
6.ประกาศและคำสั่ง (Announcement/Command)
กฎหมายที่ออกโดยหัวหน้าหน่วยงาน เป็นแนวทางเพื่อการปฏิบัติงานในหน่วยงาน โดยอาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัติ
2.พระราชบัญญัติ พระราชกำหนด และประมวลกฎหมาย
2.1พระราชบัญญัติ(พรบ.)
กฎหมายออกโดยฝ่ายนิติบัญญัติหรือรัฐสภา
2.2 ประมวลกฎหมาย(Code of Law)
การรวบรวมบทบัญญัติของกฎหมายลายลักษณ์อักษรในเรื่องเดียวกัน ให้มาอยู่ในหมวดเดียวกัน เพื่อง่ายต่อการศึกษา ค้นคว้านำไปประยุกต์ ปรับปรุงหรือแก้ไขกฎหมาย
2.3พระราชกำหนด (Royal Enactment)
กฎหมายที่รัฐธรรมนูญมอบอำนาจให้แก่ ฝ่ายบริหาร เพื่อออกข้อบังคับในกรณีฉุกเฉิน รีบด่วน ที่จะเป็นประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยในประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ
7.อื่นๆ
ข้อบังคับท้องถิ่น เป็นกฎหมายที่ออกโดยองค์กรปกครองตนเอง
1. รัฐธรรมนูญ(Constitutional Law)
กฎหมายที่มีศักดิ์สูงสุด กำหนดรูปแบบการปกครองประเทศ และวางระเบียบอำนาจสูงสุดของรัฐ
เป็นกฎหมายเเม่บทของกฎหมายปกครองประเทศ ซึ่งกฎหมายอื่นจะขัดแย้งไม่ได้ โดยศาลรัฐธรรมนูญจะเป็นองค์กรชี้ขาดว่ากฎหมายใด ขัดแย้งกับกฎหมายแม่บท