Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เครื่องมือวิจัย: Research Instrument, นางสาวสุทธิดา แสงสว่าง …
เครื่องมือวิจัย:
Research Instrument
ความหมายเครื่องมือวิจัย
เครื่องมือ อุปกรณ์ หรือสิ่งที่ใช้ เป็นสื่อสําหรับนักวิจัย ใช้ในการรวบรวมข้อมูลตามตัวแปรในการวิจัยที่กำหนดไว้ ข้อมูลดังกล่าวอาจเป็นได้ทั้งข้อมูลเชิงปริมาณและข้อมูลเชิงคุณภาพ
ความสำคัญของเครื่องมือวิจัย
ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ซึ่งเป็น
ส่วนประกอบสําคัญของการวัดการประเมิน
ตัวแปรในการวิจัย
เป็นตัวเชื่อมระหว่างปัญหา วัตถุประสงค์
และ สมมุตฐิานในการวิจัยกับข้อมูลที่จะ
นํามาใช้เป็นหลักฐาน
ช่วยให้การรวบรวมข้อมูลกระชับ ตรง
ประเด็น ต่อเนื่องเป็นขั้นตอน ซึ่งจะช่วยลด
ความผิดพลาดของการรวบรวมข้อมูล
ช่วยในการจัดเตรียมข้อมูล เพื่อให้การ
วิเคราะห์ง่ายขึ้น
ประกอบด้วย 4 แบบ
แบบทดสอบ (Test)เป็นการเก็บข้อมูลเกี่ยวกับความรู้
ความสามารถของบุคคล
แบบสอบถาม (Questionnaire) เป็นการรวบรวมข้อมูลโดยส่งแบบสอบถามให้กลุ่มเป้าหมายตอบกลับ
แบบสัมภาษณ์ (Interview)เป็นการเก็บข้อมูลโดยอาศัย
การสัมภาษณ์เผชิญหน้ากันระหว่าง
ผู้สัมภาษณ์กับผู้ให้สัมภาษณ์
แบบสังเกต (Observation)เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยผู้วิจัยเข้าไปสังเกตพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมาย
การสร้างเครื่องมือ
การสร้างเครื่องมือเพื่อใช้เก็บรวบรวม
ข้อมูลเป็นกระบวนการที่ผู้วิจัยพยายามวัด
ตัวแปรที่ทำการศึกษาซึ่งผลที่ได้จากการวัด
ตัวแปร เรียกว่า ข้อมูล
ข้อมูล
ข้อมูลปฐมภูมิ เป็นข้อมูลที่ผู้วิจัยเก็บรวบรวมด้วยตนเอง
ข้อมูลทุติยภูมิ เป็นข้อมูลที่ผู้วิจัยไม่ได้เก็บ
รวบรวมด้วยตนเองแต่เป็นการใช้ข้อมูลที่มีอยู่แล้ว เช่น งานวิจัย
ผู้อื่น เอกสาร ฯลฯ
ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือ
ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง
นิยามศัพท์
สร้างเครื่องมือ (ฉบับร่าง)
ตรวจสอบคุณภาพโดยผู้เชี่ยวชาญ
ปรับปรุงแก้ไข
ทดลองใช้เครื่องมือ (try out)
คำนวณหาค่าความเที่ยง
นำไปใช้เก็บข้อมูลจริง
ลักษณะของเครื่องมือวิจัยที่ดี
มีความเที่ยงตรง (validity)
มีความเชื่อมั่น (reliability)
มีความเป็นปรนัย (objectivity)
มีความยากง่ายพอเหมาะกับกลุ่มเป้าหมาย
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
ความเที่ยงตรง (Validity)ความแม่นยำของเครื่องมือในการวัดสิ่ง
ที่ต้องการจะวัดและคะแนนที่ได้จากเครื่องมือที่มีความตรงสูงสามารถบอกถึงสภาพที่แท้จริง
การวัดความเที่ยงตรงเชิงเนื้อ
นำเครื่องมือไปให้ผู้เชี่ยวชาญพิจารณา ความสอดคล้อง
คำนวณหาค่า IOC (ดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามกับวัตถุประสงค์)
ค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามกับวัตถุประสงค์ (Item-Objective Congruence Index : IOC)
ความเชื่อมั่น (Reliability)ความคงที่ของผลที่ได้จากการวัดด้วยเครื่องมือชุดเดียวกันกับคนกลุ่มเดียวกันในเวลาที่ต่างกัน
1.วิธีคูเดอร์ริชาร์ดสัน
หรือการใช้สูตร (KR-20)จะใช้วิธีนี้ในกรณีเป็น
แบบทดสอบที่มีการตรวจให้คะแนนแต่ละข้อ โดยให้ 1
คะแนนเมื่อตอบถูกและให้ 0คะแนน เมื่อตอบผิด
วิธีสัมประสิทธิ์แอลฟา
(Coefficient - )วิธีนี้ใช้ในกรณีการให้คะแนน
ไม่เป็นระบบ 0, 1เช่น แบบสอบอัตนัย แบบสำรวจ มาตรประเมินค่า
ขั้นตอนการประมาณค่าความเชื่อมั่น
1.นำเครื่องมือที่สร้างขึ้นไปทดลองใช้ (try out)
2.นำเครื่องมือที่ทดลองใช้มาตรวจให้คะแนน
พิจารณาสูตรที่เหมาะสมกับลักษณะของแบบสอบถาม
คำนวณตามสูตร
5.หากค่าที่ได้ค่อนข้างต่ำ จะต้องดำเนินการแก้ไข
6.หลังการแก้ไข ผู้วิจัยต้องนำไปทดลองอีกครั้งและนำผลที่ได้มาประมาณค่าความเที่ยงใหม่หากผลที่ได้เป็นที่น่าพอใจ ผู้วิจัยสามารถนำเครื่องมือไปเก็บกับกลุ่มเป้าหมาย
นางสาวสุทธิดา แสงสว่าง
รหัสนักศึกษา612901083