Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาทางจิตสังคม แก่วัยเด็ก วัยรุ่น…
การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาทางจิตสังคม แก่วัยเด็ก วัยรุ่น วัยผู้ใหญ่ และวัยผู้สูงอายุ
การขาดที่พึ่ง (Homeless)
คนไร้ที่พึ่งมี 5 ประเภท
บุคคลที่มีสถานะตามทะเบียนราษฎร์
บุคคลที่มีสถานะตามทะเบียนราษฎร์แต่ไร้สัญชาติ
บุคคลอาศัยที่สาธารณะพักนอนชั่วคราว
คนเร่ร่อน
บุคคลที่เดือดร้อนอยู่ในภาวะลำบาก
คนไร้ที่พึ่ง คือบุคคลไร้ที่อยู่อาศัย ไม่รายได้พอการยังชีพ ไม่สามารถประกอบอาชีพได้ เป็นผู้ป่วยทางสมองและจิตเวช
การดูแล
ผู้ป่วยจิตเวชไร้ที่พึ่ง : แจ้งหน่วยงานปกครอง แจ้งตำรวจ แจ้ง1667 สายด่วนสุขภาพ แจ้ง 1300สายด่วนศูนย์ช่วยเหลือสังคม
คนไร้ที่พึ่ง : ให้ข้อมูลจำเป็น , แจ้ง 1300 สายด่วนศูนย์ช่วยเหลือสังคม
คนไร้ที่พึ่งต่างกันกับขอทาน คือ ไม่ขี้เกียจ รับจ้างทำงาน เช่น รับจ้างแจกใบปลิว รับจ้างทำความสะอาด
หน้าที่ศูนย์ควคุมคนไร้ที่พึ่ง
พระราชบัญญัติคุ้มครอง พ.ศ.2557
ประสานงานจัดส่งคนไร้ที่หึ่งไปยังสถานคุ้มครอง
ให้ความคุ้มครองตามได้รับหมบหมาย
สำรวจ ติดตาม สภาพปัญหาคนไร้ที่พึ่ง
ฟระราชบัญญัติคุ้มครอง พ.ศ.2559
กรณีพบมีเจตนาขอทาน จะส่งให้ตำรวจดำเนิคดีตามมาตรา19
กรณีไม่เจตนา ให้คำแนะนำก่อนส่งกลับครอบครัว
ความโกรธ (Anger)
ความโกรธ คือ อารมณ์ธรรมชาติเกิดจากความหงุดหงิดเกิดอารมณ์ไม่พอใจรุนแรง เป็นปฏิกิริยาตอยสนองต่อสิ่งกระตุ้นไม่พอใจในสิ่งคุกคาม
แบ่งเป็น 3 ประเภท
ไม่เป็นมิตร (Hostile) แสดงออกตรงไปตรงมา เช่น ใช้ถ้อยคำรุนแรง การเฉยเมย
ความรุนแรง ( Violence) แสดงออกโดยการทำร้ายหรือทำลายโดยตรง
ก้าวร้าว (Aggression) แสดงออกเกิดจากความโกรธ กังวล คับข้องใจ รู้สึกผิด
สาเหตุ
ปัจจัยด้านชีวภาพ ( Biolgical factor) เช่น สารสื่อประสาท บาดเจ็บที่สมอง เบาหวานต่ำ สมองเสื่อม
ปัจจัยด้านจิตสังคม ( Psychosocial ) เช่น ทฤษฎีเรียนรู้สังคม ทฤษฎีทางปัญญา ทฤษฎีจิตวิเคราะห์
วงโคจรการโกรธ
Crisis Phase : เสียการควบคุม มีปัญหาการสื่อสาร
Recovery Phase : กลับมาควบคุมตนเองได้
Escalation Phase : โกรธเพิ่มขึ้น เริ่มเสียการควบคุม
Post-ccrisis Phase : กลับสู่ปกติ
Triggering Phase : มีสิ่งกระตุ้นเริ่มโกรธ
พฤติกรรมการตอบโต้ภาวะโกรธ
Aggressive behavior คือ แสดงความโกรธออกมาไม่เหมาะสม
Assertive behavior คือ แสดงความโกรธโดยพฤติกรรมสร้างสรรค์
Passive beharior คือ มีความโกรธพยายามเก็บกดซ่อนเอาไว้
การพยาบาล
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์โกรธ
5.ให้การยอมรับอารมณ์โกรธเป็นเรื่องปกติ (หลังอารมณ์เย็น)
เมื่อโกรธลดลงให้สำรวจถึงสาเหตุ
เปิดโอกาสให้ระบายความรู้สึก (หลังอารมณ์เย็น)
ชี้แนะให้ข้อมูลผลเสียการโกรธไม่เหมาะสม
3.จัดสภาพแวดล้อมเพื่อการบำบัด
วางแผนวิธีการระบายความโกรธที่เหมาะสม
2.สร้างสัมพันธภาพ โดยการแสดงออก สงบ มั่นคง พูดชัดเจน กระชับ (กรณีควบคุมได้ )
1.การรู้ตัวของพยาบาล
การพยาบาลผู้ป่วยก้าวร้าวรุนแรง
เพิ่ม 1. ถ้าผู้ป่วยเสียงดัง ให้เรีกชื่อที่เสียงดังพอสมควร (กรณีควบคุมได้) และให้อยู่ใกล้ประตู ห่างจากผู้ป่วยอย่างน้อย 1 เมตร และให้หลีกเลี่ยงการจ้องมองผู้ป่วยแบบขึงขัง
เพิ่ม2. ถ้าผู้ป่วยควบคุมได้บ้าง พูดให้ผู้ป่วยฉุนคิด และเเตือนสติ
การพยาบาลคล้ายผู้ป่วยที่มีอารมณ์ฌกรธ
เพิ่ม3. ถ้าผู้ป่วยก้าวร้าวรุนแรง ให้เรียกทีม จำกัดพฤติกรรมห้องแยก ผูกมัด ให้ยา
ภาวะวิกฤตทางอารมณ์(Emotion crisis )
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
เกิดขึ้นในกระบวนการพัฒนา (Developmental or Maturational crisis) ประกอบด้วย จิตใจ สติปัญญา สังคม การเกษียร การเริ่มงานใหม่ การแต่งงาน การมีบุตรคนแรก
วิกฤตการเกิดแบบไม่คาดฝัน(Situational crisis)ประกอบด้วย การเจ็บป่วย การว่างงาน ภัยพิบัติ อุบัติเหตุ การหย่าร่าง การตาย
ขั้นตอนการเกิดภาวะวิกฤต
ขั้นที่2 Defensive Retreat ขั้นขจัดปัญหา
ขั้นที่3 Acknowledgement เผชิญความเป็นจริง
ขั้นที่1 Initial Impact ขั้นเริ่มเกิดปัญหา
ขั้นที่4 Resolution or disintegration ปัญหาคลี่คลาย
ผลของภาวะวิกฤต
ความโกรธ เป็นความโกรธไม่สมเหตุสมผล แสดงพฤติกรรมต่อต้าน
ความซึมเศร้า แสดงอารมณ์อ่อนไหว ร้องไห้ง่าย ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม
ความกลัว แสดงออกโโยการพูดตรงๆ
ปฏิกิริยาตอบโต้อย่างรุนแรง แสดงออกโดยการทำร้ายตนเอง ทำร้ายผู้อื่น
เป้าหมายของการพยาบาล
2.ช่วยเหลือบุคคลให้แก้ไขปัญหาปัจจุบัน
3.กลับไปทำหน้าที่ได้เหมือนเดิม
1.ลดอารมณ์เครียด
กิจกรรมการพยาบาล
2.การสนับสนุนทั่วไป คือช่วยให้เกิดการมั่นใจพยาบาล
3.การช่วยเหลือกลุ่มใหญ่ คือเน้นการป้องกัน ผู้ที่เสี่ยงต่อภาวะวิกฤต
1.การจัดสิ่งแวดล้อม คือ การเอาต้นเหตุความเครียดออกไป
4.การช่วยเหลือรายบุคคล คือแก้ปัญหาเฉพาะรายบุคคล
การปฏิบัติการพยาบาลแบบ active approach
มุ่งเน้นการแก้ปัญหาปัจจุบัน
กระตุ้นใให้ผู้ป่วยระบายความรู้สึก ลดการวิตกกังวล
คือ พยาบาลแก้ไขปัญหาร่วมกับผู้ป่วย
ไม่แนะนำวิธการแก้ปัญหาด้านจิตใจให้กับผู้รับบริการ
จิตเวชชุมชน
คือ การดูแล บุคคล ครอบครัว และชุมชนทางด้านสุขภาพจิตที่คลอบคลุมถึงการส่งเสริมสุขภาพจิต
เป้าหมายจิตเวชชุมชน
ป้องกันการกลับมารักษาซ้ำ
ค้นหาผู้ป่วยระยะแรกให้ได้รับการรักษาตั้งแต่ต้น
ลดความแออัดของโรงพยาบาลจิตเวช
ลักษณะเฉพาะของจิตชุมชน เน้นป้องกัน 3 ระดับ
2.Secondary prevention เป็นการ ค้นหา วินิจฉัย รักษาผู้ป่วยให้เร็วที่สุด
3.Tertiary prevention เป็นก่รป้องกันโรคแทรกซ้อนในระยะยาว ฟื้นูและติดตาม
1.Primary prevention เป็นการลดปัจจัยที่ทำให้เกิดความผิดปกติทางจิต
ญาติมีส่วนช่วย สังเกต
2.ระดับปานกลาง ฟุ้งซ่าน หมกมุ่น ไม่หลับ ระแวง ไม่รับประทานอาหาร ไม่
สนใจตนเอง
3.ระดับรุนแรง มีความคิดหวาดระแวง หลงผิด ประสาทหลอน หวาดระแวง
ใช้ความรุนแรง
1.ระดับปกติ รับรู้ว่าตนเองหงุดหงิดง่าย มีความคิดกังวล เพิ่มขึ้น พักผ่อนได้
น้อย แต่ควบคุมและจัดการตนเองได
ชุมชนมีส่วนช่วย
ร่วมกันสอดส่องดูแล
ไม่ตรีตรา ให้การยอมรับว่าเป็นส่วนหนึ่ง
นางสาวนิภาพร วงศ์จำปา รหัสนักศึกษา 612701053 ชั้นปีที่3
รุ่นที่36 เลขที่53