Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เครื่องมือวิจัย: Research Instrument :), นางสาวคณิตา โคตรสุข …
เครื่องมือวิจัย:
Research Instrument :)
ความหมายและความสำคัญของเครื่องมือวิจัย
ความสำคัญของเครื่องมือวิจัย
ใช้ในการรวบรวมข้อมูล
เป็นตัวเชื่อมระหว่างปัญหา วัตถุประสงค์ และ สมมุตฐิานในการวิจัย
ช่วยให้การรวบรวมข้อมูลกระชับ ตรงประเด็น ต่อเนื่อง เป็นขั้นตอน
ช่วยในการจัดเตรียมข้อมูล เพื่อให้การวิเคราะห์ง่ายขึ้น
ความหมายของเครื่องมือวิจัย
เครื่องมือวิจัย (Research instruments หรือ Research tool) หมายถึง เครื่องมือ อุปกรณ์ หรือสิ่งที่ใช้ เป็นสื่อสําหรับนักวิจัย ใช้ในการรวบรวมข้อมูลตามตัวแปรในการวิจัยที่กำหนดไว้ ข้อมูลดังกล่าวอาจเป็นได้ทั้งข้อมูลเชิงปริมาณ และข้อมูลเชิงคุณภาพ เครื่องมือการวิจัยนับเป็นส่วนหนึ่งของการวิจัยทุกชนิด ไม่ว่าจะเป็นการศึกษาเฉพาะกรณีการวิจัยเชิงสํารวจ การวิจัยเชิงทดลอง
คุณลักษณะของเครื่องมือวิจัยที่ดี
ความเที่ยงตรง(Validity)
ความเชื่อมั่น(Reliability)
ความเป็นปรนัย(Objectivity)
อำนาจจำแนก(Discrimination)
ปฏิบัติจริงได้ (Practical)
ยุติธรรม (Fairness)
ประสิทธิภาพ (Efficiency)
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย
ความเป็นปรนัย
ความเที่ยง
ความตรง
การสร้างเครื่องมือวิจัยประเภทต่างๆ
แบบสอบถาม (Questionnaire) ขึ้นอยู่กับตัวแปร มี 3 ประเภท
ตัวแปรตามประเภท "ความคิดเห็น, ทัศนะ, ความพึงพอใจ" ใช้แบบสอบถาม แบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) 4 หรือ 5 ระดับ
ตัวแปรตามประเภท "เจตคติ" มักนิยมใช้แบบวัดเจตคติแบบลิเคอร์ท (Likert attitude scale)
ตัวแปรตามประเภท "พฤติกรรม เช่นการบริโภค" นิยมใช้แบบสอบถามประเภท เลือกตอบ (Checklist)
การสัมภาษณ์ (Interview)
มาตราวัดเจตคติ หรือทัศนคติ (Attitude scale)
การสังเกต (Observation)
แบบทดสอบ (Test)
การสร้างเครื่องมือวิจัย
ทดสอบและปรับปรุงคุณภาพของเครื่องมือวิจัย
ทดสอเครื่องมือวิจัย
ปรับปรุงเครื่องมือวิจัย
การเขียนำถามและวางรูปแบบเครื่องมือการวิจัย
กำหนดกรอบตัวแปรของเครื่องมือการวิจัย
วิเคระห์นิยามเชิงปฏิบัติการของตัวแปรการวิจัย
ศึกษาค้นคว้าตามแนวคิด ทฤษฎี และรายงานการวิจย
วิเคราห์ปัญหา
พิจารณากลุ่มคำถามและความต่อเนื่องของคำถาม
ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือวิจัย
ปรับปรุงครั้งสุดท้ายให้สมบูรณ์
ทดลองใช้ครั้งที่ 2 เพื่อหาคุณภาพทั้งฉบับ ได้แก่ ความเชื่อมั่น
ทดลองใช้ (Try-out ครั้งที่ 1 ) เพื่อหาคุณภาพรายข้อ เช่นอำนาจจำแนก
หาคุณภาพด้านความเที่ยงตรง โดยอาศัยผู้เชี่ยวชาญ
เขียนข้อคำถามให้สอดคล้องกับนิยามปฏิบัติการ
ให้คำจำกัดความของตัวแปรโดยเฉพาะตัวแปรตาม ในรูปของนิยามปฏิบัติการ (Operation definition)
ศึกษาทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับตัวแปรที่ต้องศึกษา โดยเฉพาะตัวแปรตาม
วิเคราะห์ความมุ่งหมาย/วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อพิจารณาตัวแปรทั้งหมดที่ต้องศึกษา
ประเภทของเครื่องมือวิจัย
เครื่องมือในการทดลอง
เครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล
เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
เลือกเครื่่องมือที่มีความถูกต้อง
ให้ค่าความน่าเชื่อถือแม่นยำ
วิธีทดสอบทำง่าย
ราคาไม่แพง
ใช้ตัวอย่างปริมาณน้อยๆ
เครื่องมือทางสังคมศาสตร์และศาสตร์อื่น ๆ
แบบสัมภาษณ์
แบบทดสอบ แบบวัดความรู้
แบบบันทึกข้อมลูล
แบบสอบถาม
แบบันทึกการสังเกตุ
แบบตรวจสอบรายการ
ผู้วิจัย
การสร้างเครื่องมือรวบรวมข้อมูล
แบบสอบถาม
ปลายเปิด
ปลายปิด
หลักการสร้างแบบสอบถาม
เขียนข้อความหรือข้อคำถามจากหัวข้อย่อยๆ ทุกหัวข้อ
จัดเรียงลำดับข้อคำาม มีรายละเอียดชี้แจงการใช้แบบสอบถาม
กำหนดขอบข่ายแนวคิดเรื่องราวที่จะตอบให้ชัดเจน
ก่อนนำไปใช้จริง ควรปรเมินความถูกต้องและหาคำตอบจากทุกข้อคำถามก่อน
แบบสัมภาษณ์
แบบสังกต
ความตรงของเครื่องมือ
การตรวจสอบความตรงโดยผู้เชี่ยวชาญเฉพาะเรื่อง
การตรวจสอบความตรงโดยวิธีอื่นๆ
การหาค่าสหสัมพันธ์ภายในของเครื่องมือ
การใช้วิธี Known Grop Techniquique
การตรวจสอบความตรงโดยนักวิจัย
นางสาวคณิตา โคตรสุข
รหัสนักศึกษา 612901013
ชั้นปีที่ 3