Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทบาทพยาบาลในการเยียวยาจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤติ :forbidden: - Coggle Diagram
บทบาทพยาบาลในการเยียวยาจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤติ :forbidden:
พยาบาลทีม MCATT
ระยะเตรียมการ
จัดเตรียมทีมเพื่อปฏิบัติงานให้การช่วยเหลือเยียวยาจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤต
ฝึกอบรมเกี่ยวกับการช่วยเหลือเยียวยาจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤต (Intervention)
การให้การปฐมพยาบาลทางจิตใจ (Psychological First Aid : PFA)
การช่วยเหลือ ทางจิตใจและสังคมในภาวะวิกฤต (Crisis Intervention)
การบำบัดทางพฤติกรรมความคิด
(Cognitive Behavior Therapy : CBT)
การช่วยเหลือด้านสุขภาพจิตตามแบบ Satir
ให้ความรู้เรื่องการใช้แบบประเมิน/ แบบคัดกรองภาวะสุขภาพจิต
การเตรียมความพร้อมของชุมชน
เพื่อรับมือกับสถานการณ์วิกฤต
ซ้อมแผน
การปฐมพยาบาลด้านจิตใจ
หลักการ EASE
สร้างสัมพันธภาพและการเข้าถึงจิตใจของผู้ได้รับผลกระทบ
การสังเกตภาษาท่าทางและพฤติกรรม
สร้างสัมพันธภาพ
การสื่อสาร
เริ่มสบตา
มีท่าทีที่ผ่อนคลาย
รับรู้สิ่งแวดล้อมรอบตัวชัดเจนขึ้น
วิธีการประเมินผู้ได้รับผล กระทบ (Assessment: A)
ประเมินและตอบสนองความต้องการทางด้านร่างกาย
การประเมินสภาพจิตใจ
ภาวะช็อกและปฏิเสธ
การดูแลทางกาย โดยให้อยู่ในสถานที่ที่สงบ
การดูแลทางจิตใจ ให้ผู้ประสบภาวะวิกฤตได้ระบายความรู้สึก
การช่วยเหลือทางสังคม ให้ความ
ช่วยเหลือตามความต้องการอย่างรีบเร่ง
ภาวะโกรธ
การดูแลทางกาย โดยให้อยู่ในสถานที่ปลอดภัย
การดูแลทางใจ โดยให้ระบายความรู้สึกโดยใช้ทักษะการฟังอย่างตั้งใจ
ภาวะต่อรอง
อดทน รับฟัง ไม่แสดงอาการท่าทางเบื่อหน่าย
สนองความต้องการในสิ่งที่สามารถให้ได้
การให้ข้อมูลที่ถูกต้อง ที่เป็นจริงตามความเหมาะสม
ประเมินอารมณ์ ความรู้สึกผู้ประสบภาวะวิกฤต
ภาวะเสียใจ
การช่วยเหลือทางกาย
หาผ้าเช็ดหน้า นํ้าเย็น ผ้าเย็น
รายที่มีอาการหายใจไม่ออก
อาจใช้การฝึกหายใจ
Breathing Exercise
Touching
ประเมินความต้องการทางสังคม
ต้องการพบญาติ
ติดต่อประสานโดยการโทรศัพท์
ไร้ญาติขาดมิตร
หน่วยงานที่ให้ความ
ช่วยเหลือ ด้านที่พักอาศัย
วิธีการเรียกขวัญคืนสติลดความเจ็บปวดทางใจเสริมสร้างทักษะ (Skills: S)
Breathing exercise
Touching skill
Grounding
การลดความเจ็บปวดทางใจ
การฟังอย่างใส่ใจ (Active Listening)
การสะท้อนความรู้สึก
การเงียบ
การทวนซ้ำ
วิธีการให้สุขภาพจิตศึกษาและข้อมูลที่จำเป็น (Education)
ต.1 ตรวจสอบความต้องการ
ต.2 เติมเต็มความรู้
ต.3 ติดตามต่อเนื่อง