Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลแบบองค์รวมในทารกแรกเกิดที่มีภาวะเสี่ยงและปัญหาสุขภาพในภาวะเฉียบพล…
การพยาบาลแบบองค์รวมในทารกแรกเกิดที่มีภาวะเสี่ยงและปัญหาสุขภาพในภาวะเฉียบพลัน วิกฤตและเรื้อรัง
ทารกแรกเกิดน้ำหนักตัวมาก
ความหมายทารกแรกเกิดน้ำหนักตัวมาก
ทารกที่มีน้ำหนัก 4000 กรัม ซึ่งส่วนใหญ่เกิดจากมารดาที่มีโรค DM ร่วมกับการตั้งครรภ์
ลักษณะทารกแรกเกิดน้ำหนักตัวมาก
ตัวใหญ่ อ้วน แก้มยุ้ย ผิวแดงเข้ม ผมและขนดกดำ สายสะดือและรกจะใหญ่
การพยาบาลทารกน้ำหนักตัวมาก
ดูแลให้ได้รับสารน้ำและอาหารอย่างเหมาะสม
ดูแลให้ความอบอุ่น
ประเมินและติมตามระดับน้ำตาลในเลือดหลังคลอดทุก 30 นาที นาน 6-8 ชม
สังเกต บันทึกรายงานความเปลี่ยนแปลงของอาการที่แสดงถึงภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
ดูแลให้ทารกพักผ่อนเพื่อลดการใช้พลังงาน
ภาวะแทรกซ้อนทารกน้ำหนักตัวมาก
น้ำตาลในเลือดต่ำ มักเกิดใน 1-2 ชม แรกหลังคลอด
บาดเจ็บจากการคลอด
ภาวะแคลเซียมในเลือดต่ำน้อยกว่า 7 mg/dl ทำให้มีอาการชัก
ภาวะเลือดข้น
ภาวะตัวเหลือง
IRDS
renal vain thrombosis คลำพบก้อนทางหน้าท้อง
ทารกน้ำหนักน้อย (Low birthweight)
ความหมายทารกน้ำหนักน้อยตามหลัก WHO คือ น้ำหนักตัวน้อยกว่า 2500 กรัม แยกเป็น 4 แบบ
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ (SGA)
ทารกปกติตัวเล็ก
ทารกคลอดก่อนกำหนด
ทารกที่มีภาวะแคระ
ลักษณะทารกแรกเกิดที่มีน้ำหนักน้อย
ศรีษะไม่ได้สัดส่วนกับขนาดร่างกาย แจน จาผอมลีบ ผิวหนังแดง เหี่ยว ขนอ่อนมาก ไขมันใต้ผิวหนังน้อย
ไม่ค่อยมีการเคลื่อนไหว ร้องน้อยกว่าเด็กปกติ
กล้ามเนื้อการหายใจอ่อนแอ เนื้อเยื่อปอดไม่ดี ทารกอาจหายใจขัด ไม่สม่ำเสมอ
ระบบประสาทยังเจริญไม่เต็มที่ ศูนย์ควบคุมอุณหภูมิร่างกายทำงานได้ไม่ดี สำลักง่าย
เส้นเลือดเปราะแตกง่ายมี Gamma globulin ต่ำทำให้ติดเช้อง่าย
ระบบย่อยอาหารยังเจริญไม่เต็มที่
หลักการดูแลทารกที่มีน้ำหนักตัวน้อย
รักษาระดับอุณหภูมิร่างกายให้คงที่เป็นปกติ
ป้องกันไม่ให้มีการติดเชื้อ
ดูแลให้นมอย่างเพียงพอ
ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
ดูแลการหายใจให้เป็นปกติ
การพยาบาลแบบองค์รวมทารกแรกเกิดที่มีการบาดเจ็บจากการคลอด
ปัจจัยส่งเสริม
ทารกมักมีขนาดใหญ่ หรืออยู่ในท่าที่ผิดปกติ เช่น ท่าขวาง ท่าก้น แหงนหน้า หรือคอดก่อนกำหนด
มารดามีความเสี่ยงสูง เช่น ครรภ์แรก ช่องเชิงกรานแคบ ตัวเตี้ย มีโรคแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์ ไม่ฝากครรภ์หรือมีเศรษฐานะต่ำ
ผู้ทำคลอดขาดความชำนาญ
อุปกรณ์ทำคลอด เครื่องมือที่ใช้มีสภาพชำรุด
ช่วยคลอดด้วยสูติศาสตร์หัตถการ เช่น คลอดด้วยเครื่องดูดสูญญกาศหรือใช้คีมดึง
สาเหตุ
ผู้ทำคลอดไม่มีความชำนาญ
มารดามีความเสี่ยงสูง
ชนิดของการบาดเจ็บ
การบาดเจ็บของเนื้อเยื่อ (soft tissue injury )
เลือดออกภายในร่างกาย (internal hemorrhange) มักเป็นการบาดเจ็บที่ตับ ส่วนใหญ่เป็น subcapsular liver hemorrhage คือเนื้อตับฉีกขาดแต่ capsule ไม่ขาด เลือดมักหยุดได้เอง ทารกจะมีอาการเล็กน้ย เช่น ซีด ท้องอืดคลำตับได้โตขึ้น ถ้า capsule ขาด เลือดจะออกมากจนช็อค เลือดหยุดยาก หน้าท้องเขียว ทารกมักเสียชีวิต
Fat necrosis คือ เนื้อบริเวณใต้ผิวหนังหนาและแข็งขึ้น ลักษณะเป็นก้อนสีผิวบริเวณนั้นจะเป็นสีแดงปนม่วง พบได้ตามบริเวณที่มีรอยกดทับ เช่น ที่แก้ม ใบหน้า หู หนังศีรษะบริเวฯ parietal หรือก้น มักเกิดจากการคลอดด้วยคีมสามารถพบได้ในรายที่คลอดปกติ ส่วนใหญ่อาการจะแสดงเมื่ออายุได้ 5-7 วันหลังคลอด ไม่จำเป็นต้องให้ยารักษา ยกเว้นบริเวณที่เป็นมากและมีการติดเชื้อ
Sternomastoid mass เป็นก้อนแข็งกดไม่เจ็บบริเวณกล้ามเนื้อ Sternomastoid ข้างใดข้างหนึ่งหรือทั้สองข้าง พบได้เมื่ออายุ 1-2 weeks ไม่จำเป็นต้องรักษา ยกเว้นบางรายที่มีอาการคอเอียง (torticollis) ร่วมด้วย จึงจะให้การรักษาโดยกายภาพบำบัด (passive exercise)
ก้อนบวมเลือด (cephal hematoma) คือเลือดที่ออกในชั้นใต้เยื่อหุ้มกระดูกกะโลหกศีรษะ (periosteum) เกิดจากศีรษะทารกกดหรือกระแทกกับกระดูกเชิงกรานหรือกระดูก sacral promontory ของมารดาหรือคีมช่วยคลอด สามารถหายได้เองภายใน 4-6 weeks
ก้อนบวมน้ำ (caput succedaneum) มีการบวมน้ำใต้หนังศีรษะบริเวณที่เป็นส่วนนำ อาจมีรอยช้ำเป็นหย่อมๆ อาจข้ามรอยต่อกระดูกกะโหลกศีรษะ มักหายได้เองภายใน 2-3 วันหลังคลอด
หนังศีรษะถลอก (scalp abration)
ผิวหนังเขียวช้ำ (ecchymosis)
การบาดเจ็บต่อระบบประสาท (nervous tissue injury)
Brachial plexus palsy มักเกิดในรายที่คลอดติดไหล่ คอทารกถูกดึงมากทำให้เส้นประสาทคอและกลุ่มประสาทที่ไปเลี้ยงแขนถูกดึง เกิดความพิการได้ 3 แบบ
Erb's palsy มีพยาธิสภาพที่รากประสาทคอที่ 5 และ 6 ทำให้กล้ามเนื้อแขนเป็นอัมพาต ต้นแขนตกหันเข้าข้างใน หัวไหล่หมุนเข้าข้างใน ข้อศอกเหยียดออก ข้อมืองอและคว่ำมือ
Klumpke's paralysis มีพยาธิสภาพที่รากประสาทคอที่ 8 และรากประสาทคอเส้นแรก ทำให้กล้ามเนื้อมือของทารกทำงาน (wrist drop)
Complete brachial plexus palsy มีพยาธิสภาพที่รากประสาทคอที่ 8 และรากประสาทคอเส้นแรก ทำให้แขนอยู่นิ่งๆไม่เคลื่อนไหว ไม่มีเหงื่ออกไม่มีความรู้สึก อาจมีม่านตาข้างเดียวขยายโตร่วมด้วย (Horner's syndrome)
Peripheral nerve palsies มักเกิดจากการคลอดลำบาก ทำให้เส้นประสาทขอทารกถูกดึงหรือยืดออกหรือถูกดึงให้ขาดออกจากกัน
Facial nerve palsy อาจเกิดจากศีรษะทารกกดกับกระดูก sacrum ของมารดา หรือคีมกดที่กกหูหรือมีเลือดออกในสมอง ทำให้ไม่สามารถย่นหน้าผากได้ มุมปากข้างที่เป็นขยับไม่ได้ หลับตาไม่สนิท แต่ดูดนมได้ มักหายใจได้เองภายใน 3 weeks
กระดูกหัก (Skeletal injury)
กระโหลกศีรษะบุบ (depress skull fracture) มักมีลักษณะคลำดูคล้ายลูกปิงปองยุบกระดูกไม่แตกแยกออกจากกัน โดยมากเกิดจากถูกคีมดึงหรือศีรษะทารกกดทับกระดูกส่วนต่างๆของมารดา เมื่อตรวจพบควรปรึกษาศัลยแพทย์ทางระบบประสาทเพื่อยกส่วนที่บุบหรือผ่าตัด
กะโหลกศีรษะร้าวหรือยุบ (skull fracture) มักเกิดจากถูกคีมดึงหรือดึงศีรษะหล่นกระแทกพื้น
กระดูกต้นแขนหัก (fracture of humerus) พบได้บ่อย อาจมีอาการของ brachial plexus injury ร่วมด้วย
Epiphyseal injury มักเกิดในทารกครรภ์แรกท่าก้นที่คลอดทางช่องคลอด ทารกจะนอนท่ากบ ต้นขาบวมแดง กดเจ็บหรือเจ็บเมื่อเคลื่อนไหว ร้องกวน มีไข้ต่ำๆ อาการจะหายภายใน 1-2 weeks
กระดูกไหปลาร้าหัก (fracture of clavicle) พบได้บ่อยสุด มักเกิดในทารกตัวโต คลอดติดไหล่ กระดูจะเชื่อมต่อกันเองเป็นปกติภายใน 4-6 weeks จึงไม่จำเป็นต้องใส่เฝือก
Spinal cord injury เกิดจากทารกถูกดึงคออย่างแรกขณะที่แกนกระดูกสันหลัอยู่ในท่าบิดงอ มีอาการลำตัวหรือแขน ขา เกร็ง เ็นอัมพาตตั้งแต่เกิด เสียชีวิตหลังคลอดแบบมี spinal shock
การวินิจฉัย
อาการและอาการแสดง
การตรวจร่างกาย
จากประวัติการคลอด
การตรวจพิเศษ
การพยาบาล
ให้คำแนะนำที่ถูกต้องในการดูแลทารกแก่บิดามารดาและสมาชิกในครอบครัว
ดูแลให้ได้รับนมอย่างเพียงพอแก่ความต้องการของร่างกาย
ให้การพยาบาลด้วยความนุ่มนวลและถูกหลักการ
ให้การพยาบาลประจำตามมาตรฐานการดูแลทารกแรกคลอด
สังเกตและติดตามอาการเปลี่ยนแปลเป็นระยะ
ส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารก
ให้การพยาบาลตาม order
การรักษา
การรักษาเฉพาะที่ ควรฉีด vit k 1 มิลลิกรัม เข้ากล้ามเนื้อและถ้าผิวหนังถลอกควรล้างฟอกด้วยสบู่ฆ่าเชื้อบริเวณที่มีผมควรโกนผมออกแล้วทาด้วย betadine ห้ามเจาะเลือดออกจากก้อนบวมเลือด ถ้าเกิดอักเสบเองและมีหนอง ต้องระบายหนองออกและฉีดยาปฎิชีวน
การรักษาเฉพาะโรค ถ้ามีเลือดคั่งในสมอง ต้องเจาะออกหรือทำการผ่าตัดเอาเลือดออก ถ้าเลือดออกในอวัยวะภายในต้องให้เลือดและแก้ไขภาวะช็อคให้ทัน ยกเว้น subcapsular liver hemorrhage ไม่ต้องรักษาโดยการผ่าตัด
ทารกที่มีกระดูหักมักต้องใส่เฝือกอ่อน ยกเว้นกระดูกไหปลาร้าหักเพราะสามารถหายได้เอง
กระโหลกศีรษะยุบไม่ต้องทำการ่าตัด ยกเว้นในรายที่มีภาวะแทรกซ้อน
กระโหลกศีรษะร้าวหรือยุบต้องรีบปรึกษาแพทย์ทางระบบประสาททันทีเพื่อทำการผ่าตัด
การบำบัดและการฟื้นฟูสภาพ ทำในรายที่มีการบาดเจ็บของเส้นประสาท การทำ passive exercise จะช่วยป้องกันไม่ให้กล้ามเนื้อที่เลี้ยงด้วยเส้นประสาทนั้นลีบ
ภาวะขาดออกซิเจน (Birth asphyxia หรือ perinatal asphyxia)
ความหมายภาะขาดออกซิเจน
ทารกไม่สามารถหายใจได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้เกิด (hypoxia) มีการคั่งของคาร์บอนไดออกไซด์ (hypercapnia) และมีสภาพเป็นกรดในกระแสเลือด (metabolic acidosis)
กลไลการเกิดภาวะขาดออกซิเจน มี 4 ประการ
การไหลเวียนเลือดทางสายสะดือขัดข้อง
ไม่มีการแลกเปลี่ยนออกซิเจนที่รก
มีการนำออกซิเจนหรือสารอาหารจากมารดาไปยังทารกโโยผ่านทางรกไม่เพียงพอ เช่น มารดาเป็น HT ช็อค สูญเสียเลือด ซีด
ปอดทารกขยายไม่เต็มที่และการไหลเวียนเลือดยังคงเป็นแบบทารกในครรภ์ไม่สามารถปรับเป็นแบบทารกหลังคลอดได้และไม่พัฒนาเป็นแบบผู้ใหญ่
การรักษาภาวะขาดออกซิเจน
การให้ออกซิเจน
การช่วยหายใจ (ventilation)
การกระตุ้นทารก (tactile stimulation)
การใส่ท่อหลอดลมคอ
ทำทางเดินหายใจให้โล่ง (clearing the airay)
การนวดหัวใจ (Chest compression)
การให้ความอบอุ่น
การให้ยา (medication)
จำแนกความรุนแรงของการขาดออกซิเจน
moderate asphyxia
severe asphyxia
mild asphyxia
อาการและอาการแสดงภาวะขาดออกซิเจน
ระยะคลอด
พบขี้เทาปนในน้ำคร่ำ
ระยะหลังคลอด
แรกคลอดคะแนน APGAR ต่ำกว่า 7 ตัวเขียว ไม่หายใจเอง ตัวนิ่ม
การเปลี่ยนแปลงในปอด ทำให้ทารกคลอดก่อนกำหนดเกิดภาวะ RDS ส่วนทารกคลอดก่อนกำหนดจะเกิดภาวะ persistent pulmonary hypertention of the newborn (PPHN)
การเปลี่ยนแปลงในระบบประสาท ไม่มี Doll's eye movement และมักจะเสียชีวิต ถ้าสามารถกู้ชีพได้อาจเกิด (HIE)
สูญเสียกำลังก้ามเนื้อ พบในช่วงอายุ 2-3 ชม แรก ถ้ากำลังดีขึ้นภายใน 1-2 วันแรกทารกมักรอดชีวิตและมีสมองปกติ
ชัก มักเริ่มเห็นภายใน 12-24 ชม
ระดับความรู้สึกตัวผิดปกติ
การเปลี่ยนแปลงในระบบทางเดินอาหาร ทำให้ทารกถ่ายขี้เทาในครรภ์มารดา จึงเสี่ยงสำลักขี้เทาเข้าปอด
การเปลี่ยนแปลงเมตาบอลิซึม หลังขาดออกซิเจน ทารกมักเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ แคลเซียมต่ำและโปแตสเซียมสูง มีผลทำให้ชักและเสียชีวิต
การเปลี่ยนแปลงในระบบทางเดินปัสสาวะ
ทารกปัสสาวะน้อยลงหรือไม่ถ่ายปัสสาวะหรือถ่ายปัสสาวะเป็นเลือด (hematuria)
ผลการตรวจทางห้องปฎิบัติการ
ค่า arterial blood gas ผิดปกติ คือ PaCO2 > 80 mmHg, PaO2 < 40 mmHg, pH < 7.1
ระดับน้ำตาลในเลือด 30 mg%
ค่าของ calcium ในเลือดต่ำกว่า 8 mg%
ค่าของ potassium ในเลือดสูง
ระยะตั้งครรภ์หรือก่อนคลอด
ทารกมีการเคลื่อนไหวมากกว่าปกติและต่อมาจะมีการเคลื่อนไหวน้อยกว่าปกติ
การวินิจฉัยภาวะขาดออกซิเจน
อาการและอาการแสดง
การตรวจร่างกาย APGAR
สีผิว
RR
การเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อ
การตอบสนองเมื่อถูกกระตุ้น
อัตราการเต้นของหัวใจ
ประวัติการคลอด
การตรวจ LAB
ปัจจัยเสี่ยงติดเชื้อในทารกแรกเกิด
Early onset sepsis
ถุงน้ำแตกก่อนคลอด
มารดามีเชื้อ group B streptococcus ในช่องคลอดหรือนะบบสืบพันธ์ุ
ทำหัตถการภายในครรภ์ เช่น fetal scalp electrode
ทารกคลอดก่อนกำหนด
perinatal asphyxia
การติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะของมารดา
Late onset sepsis
อายุครรภ์น้อย
น้ำหนักน้อย
ภาวะแทรกซ้อน เช่น RDS, Patent ductus arteriosus เลือดออกในสมอง ลำไส้ตาย
การให้อาหารทางเส้นเลือด
การได้รับยา steroids
ปัจจัยเสี่ยงด้านมารดา
ภาวะติดเชื้อในน้ำคร่ำ (chrioamionitis) มีไข้ก่อนคลอด > 38 ร่วมกับเม็ดเลือดขาวสูง
มารดาอายุมาก
น้ำเดินก่อนคลอด > 18 ชม
ได้รับ pre-natal steroid / Tocolytic agent (Mg & Indomethacin)
อายุครรภ์ < 37 wk
ปัจจัยเสี่ยงด้านทารก
GA < 37 wks / prematurity
Birth injury
Low birth weight
มี Thick macconium
มี Fetal distress ใน 2nd stage of labor
Congenital anomalies
Birth asphyxia : APGAR ที่ 5 นาที < 6 คะแนน
Congenital infection เช่น มีจุดเลือดออกตามตัว / ตับโต
การพยาบาลแบบองค์รวมทารกแรกเกิดที่เกิดจากมารดาติดสารเสพติด
ผลกระทบ
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ คลอดก่อนกำหนด มีความผิดปกติหรือพิการแต่กำเนิด ชัก ทารกมีอาการขาดยา
อาการขาดยาของทารกแรกเกิด
ตัวเกร็ง (Tight muscle tone)
ไวต่อการตอบสนอง (Hyperactive reflexes)
ร้องเสียงแหลม (High-pitched crying)
ชัก (Seizures)
มีปัญหาการนอน (Sleep problems)
หาวบ่อย คัดจมูก จาม (Yawning, stuffy nose, and sneezing)
ร้องกวน (excessive crying)
การดูดกลืนไม่ดี (Poor feeding and suck)
ตัวสั่น (Tremors or trembling)
อาเจียน ท้องเสีย ขาดน้ำ เหงื่อออก มีไข้หรืออุณหภูมิไม่คงที่
อาการเกิดขึ้นภายใน 24-48 ชม ส่วนใหญ่พบใน 72 ชม หลังคลอด พบได้ยาวนานถึง 8 wks หรือนานกว่าหากได้รับสารเสพติดหลายตัว
การพยาบาล
ห่อตัวทารกให้อบอุ่น
ดูแลให้ได้รับนมแคลอรี่สูง
งดให้นมมารดาเป็นเวลา 2 ชมหลังจากดื่มสุราปริมาณ 10 กรัมของแอลกอฮล์บริสุทธิ์ และงดนมมารดานาน 4-8 ชม หากดื่มมากกว่านี้
ให้การพยาบาลตามมาตรฐานในการดูแลทารกแรกคลอด
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำในรายที่อาเจียนหรือท้องเสีย
ประเมินอาการขาดยาทุก 4 ชม
ดูแลทารกที่มีอาการ NAS ให้ได้รับยาตาม order
Phenobarbital 2-4 mg/kg ทุก 8 ชม
Methadone 1-2 mg วันละ 2 ครั้ง
Paregoric 0.1-0.5 mg/kg ทุก 4 ชม
Diazepam 1-2 mg วันละ 2 ครั้ง
เฝ้าระวังและสังเกตอาการทารกเกี่ยวกับ RDS, hypoglycemia, hypocalcemia, hypobilirubinemia และ intraventicular hemorrhage
อาการและอาการแสดงของภาวะติดเชื้อในทารกแรกคลอด
หายใจเร็ว ปีกจมูกบาน หน้าอกบุ๋ม มี grunting หอบเหนื่อย
มีจุดเลือดออก ภาวะ DIC
hypoglycemia, hyperglycemia, metabolic acidosis
การดูแลและการพยาบาล
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
เฝ้าระวังภาวะติดเชื้อในกระแสเลือด
จัดสิ่งแวดล้อมให้ทารกสามารถควบคุมอุณหภูมิได้
ให้ยาปฎิชีวินะตาม order กรณีติดเชื้อแบคทีเรียให้ ampicillin, gentamicin
เอดส์
แบ่งได้ 3 กลุ่ม
ติดเชื้อขณะอยู่ในครรภ์ (In utero transmission) ผ่านทางรก
ติดเชื้อขณะคลอด (Intrapartum transmission) ติดโดยการสัมผัสสิ่งคัดหลั่งจากช่องคลอดหรือเลือด
ติดเชื้อหลังคลอด (Postpartum transmission) เกิดจากการให้นมมารดา
การพยาบาล
ตรวจร่างกายทารกอย่างละเอียด
ระวังไม่ให้ทารกมีบาดแผลระหว่างคลอด
อาบน้ำ ทำความสะอาดทารกทันทีหลังคลอด
ให้นมผสมแทนนมมารดา
ให้ยาต้านไวรัสเอดส์ คือ Zidovudine syrup (AZT)
ถ้าทารกปกติไม่มีการติดเชื้อ HIV ให้วัคซีน BCG และ HBV ถ้ามีอาการแสดงของเอดส์ห้ามให้ BCG
ให้ยาป้องกันวัณโรค (IHN)
ไวรัสตับอักเสบ ชนิดบี
กลไกการติดเชื้อ
สัมผัสหรือกลืนสิ่งคัดหลั่งหรือเลือดในช่องคลอด
ผ่านทางน้ำนมที่หัวนมมีแผล
ผ่านทางรก
การพยาบาลไวรัสตับอักเสบ ชนิดบี
ทำความสะอาดร่างกายทารกทันทีหลังคลอด
ให้ immunoglobulin (HBIG)
ขจัดสิ่งคัดหลั่งหรือเลือดที่เปื้อนตัวทารกให้หมด
แนะนำให้เลี้ยงดูบุตรด้วยนมมารดา ยกเว้นมารดามีการอักเสบของเต้านมมีแผลหรือหัวนมแตกมีเลือด ให้งดนมมารดาจนกว่าแผลจะหาย
ดูดเมือกและเลือดออกจากปาดและจมูกทารกให้มากที่สุด
ซิฟิลิส
การพยาบาล
ให้การพยาบาลตามมาตรฐานในการดูแลทารกแรกคลอด
เก็บเลือดจากสายสะดือส่งตรวจหาเชื้อซิฟิลิสทันทีหลังคลอด
ให้ยาปฎิชีวนะตามแผนการรักษาของแพทย์เมื่อมีการติดเชื้อ
ติดเชื้อจากมารดาผ่านทางรกได้ทุกไตรมาส
อาการและอาการแสดงของซิฟิลิส
มีผื่นขึ้นตามฝ่ามือฝ่าเท้า รอบๆปากและทวารหนักใน 2-6 wks หลังคลอด เยื่อหุ้มสมองอักเสบ ตัวเล็ก ซีด เหลือง ตับม้ามโต
หนองใน
ทารกสามารถติดเชื้อได้ทุกไตรมาสของการตั้งครรภ์ มีโอกาสติดมากสุดในระหว่างการคลอด
อาการและอาการแสดง
พบการติดเชื้อที่ตามากที่สุด หากไม่รักษาทันทีอาจทำให้จาเป็นแผลและตาบอดได้ มีการติดเชื้อในช่องหูชั้นนอก ปาก กระเพาะอาหาร เบื่อบุทวารหนัก ช่องคลอดและทอปัสสาวะ ระบบทางเดินอาหาร ข้ออักเสบ เยื่อหุ้มสมองอักเสบและติดเชื้อในกระแสเลือด
การพยาบาล
รีบเช็ดตาทารกทันทีหลัคลอดก่อนที่มารกจะลืมตา
หยอดตาด้วย 1% silver nitrate หรือ 0.5% Erythromycin หรือ 1% Tetracycline ภายใน 1 ชม แรกหลังคลอด
อาการและอาการแสดง
แสดงอาการปานกลาง
แสดงอาการรุนแรง
แสดงอาการน้อย
แบ่งตามความรุนแรงของการกดภูมิต้านทานตามจำนวน CD4 ได้ 3 แบบ
ไม่มีการกดภูมิต้านทาน
มีการกดภูมิต้านทานระดับปานกลาง
มีการกดภูมิต้านทานรุนแรงมาก
ไม่แสดงอาการ
เริม
กลไกการติดเชื้อาาาาา
ติดเชื้อจากช่องคลอดมารดา จากการกลืนสิ่งคัดหลั่งจากช่องคลอด หรือมีแผลถลอก
อาการและอาการแสดง
เกิดภาวะตับอักเสบ เกล็ดเลือดต่ำ เลือดไม่แข็งตัว สมองอักเสบ ศีรษะเล็ก สมองเจริญเติบโตช้า
ติดเชื้อจากมารดาได้ทั้งในระยะตั้งครรภ์ คลอดและหลังคลอด โดยเฉพาะถ้ามารดาติดเชื้อครั้งแรกในขณะตั้งครรภ์
การพยาบาล
หลีกเลี่ยงการคลอดที่ทำให้ทารกสัมผัสกับแผลเริมของมารดา
ทำความสะอาดร่างกายทารกทันทีหลังคลอด
ล้างมือให้สะอาดก่อนสัมผัสทารก
ในขณะที่มารดามีแผลเริมแนะนำให้มารดาล้างมือก่อนสัมผัสหรือให้นมทารก
แนะนำให้เลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาแต่งดในรายที่ได้รับยา Acyclovir
หูดหงอนไก่
กลไกการติดเชื้อ
ติดเชื้อจากมารดาโดยแพร่เข้าทางช่องคลอดไปยังโพรงมดลูกหรือการสัมผัสโดยตรงขณะคลอดผ่านทางช่องคลอด
อาการและอาการแสดง
เสียงแหบ หายใจลำบากและตายในที่สุด
การพยาบาล
หลีกเลี่ยงการคลอดผ่านทางช่องคลอด หากจำเป็นต้องคลอดทางช่องคลอดให้ระวังไม่ให้หูดของมารดาฉีกขาด
ป้องกันทารกไม่ให้สูดสำลักสิ่งคัดหลั่ง เลือดจากช่องคลอดมารดาเข้าปาก or จมูก
ทำความสะอาดร่างกายทารกทันทีหลังคลอด
สังเกตและบันทึกลักษณะการหายใจของทารกเป็นระยะ
ไวรัส Zika
กลไกการติดเชื้อ
มียุงลายเป็นภาหะ ระยะฟักตัว 3-12 วัน ติดต่อได้ทางเพศสัมพันธ์และการให้เลือด
อาการและอาการแสดง
อาการไข้ มีผื่นแดง เบื่อบุตาอักเสบ ปวดกล้ามเนื้อ ปวดข้อ อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ อาการจะเป็น 2-7 วัน ทารกในครรภ์จะมีศีรษะเล็กแต่กำเนิด (Microcephaly) และสมองพิการได้
การพยาบาล
ไม่จำเป็นต้องนอนโรงพยาบาล
พักผ่อนให้เพียงพอ ดื่มน้ำมากๆ
รักษาตามอาการ เช่น ให้รับประทานยาพาราเซมอลลดไข้ บรรเทาอาการปวด
ตรวจ U/D ทารกครั้งแรกเมื่ออายุครรภ์ 18 wks
หลังคลอดทารกควรได้รับการประเมินทางพัฒนาการการมองเห็นและการได้ยิน
อาเจียน ท้องเสีย ตัวเหลือง
ซึม (lethargy ทารกไม่ร้อง ไม่ดูดนมหรือดูดนมช้า)
ไข้อยู่นานกว่า 1=, หรือวัดไข้ได้มากกว่า 1 ครั้ง
ภาวะติดเชื้อในทารกแรกเกิด (Neonatal sepsis)
การติดเชื้อแบคทีเรียในเดิอนแรก แบ่งได้ 2 กลุ่ม
Early onset sepsis มีอาการภายใน 4 วันแรกหลังคลอด โโยได้รับเชื้อจากมารดาขณะคลอด
Late onset sepsis เริ่มมีอาการติดเชื้อภายหลัง 4 วันแรกหลังคลอดโดยได้รับเชื้อจากมารดาหรือจากสิ่งแวดล้อมหลังคลอด
นางสาวฐานิกา มะโหละกุล รหัส 601001041