Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3.8 สถานการณ์การพยาบาลด้านจิตสังคมสำหรับผู้ประสบสาธารณภัย - Coggle…
บทที่ 3.8 สถานการณ์การพยาบาลด้านจิตสังคมสำหรับผู้ประสบสาธารณภัย
การเตรียมตัวเพื่อรับสถานการณ์ฉุกเฉินของทีม MCATT
ระยะเตรียมการ
จัดเตรียมโครงสร้างการดําเนินงานช่วยเหลือ
ด้านสุขภาพจิตผู้ประสบภาวะวิกฤต
จัดเตรียมแผนการดําเนินงานเพื่อรองรับสถานการณ์วิกฤต
จัดตั้งศูนย์
อํานวยการช่วยเหลือด้านสุขภาพจิต
ผู้ประสบภาวะวิกฤต
ศูนย์วิกฤตสุขภาพจิต
จัดทีมช่วยเหลือด้านการเยียวยาจิตใจ
การปฐมพยาบาลทางจิตใจ
การช่วยเหลือ ทางจิตใจและสังคมในภาวะวิกฤต
การบําบัดทางพฤติกรรมความคิด
การช่วยเหลือด้านสุขภาพจิตตามแบบ Satir
เตรียมความพร้อมของชุมชนเพื่อรับมือกับสถานการณ์วิกฤต
ให้ความรู้เรื่องภัยพิบัติ
การปฏิบัติตัวเมื่อเกิดภัยพิบัติ
ระบบการเตือนภัย
หน่วยงานที่ให้
ความช่วยเหลือ
มีการซ้อมแผนการช่วยเหลือด้านสุขภาพจิตผู้ประสบภาวะวิกฤต
ระยะวิกฤตและฉุกเฉิน
ระยะวิกฤต (ภายใน 72 ชั่วโมงแรกหลังเกิดเหตุ)
ความช่วยเหลือเฉพาะหน้า
ช่วยเหลือตามสภาพความเป็นจริงทั้งด้านร่างกาย ความต้องการพื้นฐาน
ที่อยู่อาศัย
อาหาร
เครื่องนุ่งห่ม
ของใช้จำเป็น
ให้การปฐมพยาบาลด้านจิตใจ
ระยะฉุกเฉิน (72 ชั่วโมง - 2 สัปดาห์)
ประเมินคัดกรอง
ภาวะสุขภาพจิต
นํามาวางแผนในการช่วยเหลือ
จัดลําดับความต้องการช่วยเหลือ
อย่างเร่งด่วนและต่อเนื่อง
ความรุนแรง 6 กลุ่ม
จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์
แบบประเมิน/ คัดกรองภาวะสุขภาพจิต
คัดกรองและค้นหากลุ่มเสี่ยง โดยใช้เวชระเบียน
สํารวจความต้องการช่วยเหลือทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
พบความเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาสุขภาพจิต ให้จัดทํา
ทะเบียนกลุ่มเสี่ยงและวางแผนการติดตามต่อเนื่อง
สรุปรายงานสถานการณ์เบื้องต้นพร้อมทะเบียนกลุ่มเสี่ยง
การปฐมพยาบาลด้านจิตใจ ด้วยหลักการ EASE
วิธีการสร้างสัมพันธภาพและการเข้าถึงจิตใจของผู้ได้รับผลกระทบ (Engagement: E)
การสังเกตภาษาท่าทาง
และพฤติกรรม
Nonverbal
กํามือ
มือไขว่คว้า
ผุดลุกผุดนั่ง
น้ําเสียงกรีดร้อง
Verbal
พูดสับสนฟังไม่รู้เรื่อง
ร้องขอความช่วยเหลือ
พูดซ้ําไปซ้ํามา
การสร้างสัมพันธภาพ
ไม่ยิ้มในขณะที่อีกฝ่ายเศร้าแม้ว่าต้องการจะยิ้มเพื่อให้กําลังใจก็ตาม
ไม่ฝืนความรู้สึก
การสื่อสาร
ตอนนี้รู้สึกเป็นอย่างไรบ้าง
วิธีการประเมินผู้ได้รับผลกระทบ (Assessment: A)
ประเมินและตอบสนองความต้องการ
ทางด้านร่างกาย
การประเมินสภาพจิตใจ
ผู้ประสบภาวะวิกฤตอยู่ใน
ภาวะช็อกและปฏิเสธ
ผู้ประสบภาวะวิกฤตอยู่ในภาวะโกรธ
ผู้ประสบภาวะวิกฤตอยู่ในภาวะต่อรอง
ผู้ประสบภาวะวิกฤตอยู่ในภาวะเสียใจ
การประเมินภาวะฆ่าตัวตาย
ประเมินความต้องการทางสังคม
วิธีการเรียกขวัญคืนสติลดความเจ็บปวดทางใจเสริมสร้างทักษะ (Skills: S)
การฝึกกําหนดลมหายใจ (Breathing exercise)
Touching skill (การสัมผัส)
ทักษะการ Grounding
การนวดสัมผัส และ การนวดกดจุดคลายเครียด
การลดความเจ็บปวดทางใจ
การฟังอย่างใส่ใจ (Active Listening)
การสะท้อนความรู้สึก
การเงียบ
การทวนซ้ํา
การเสริมสร้างทักษะ
วิธีการให้สุขภาพจิตศึกษาและ
ข้อมูลที่จําเป็น (Education)
ตรวจสอบความต้องการ
เติมเต็มความรู้
ติดตามต่อเนื่อง