Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ 36, ปอ.…
บทที่ 3 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
:checkered_flag:วิวัฒนาการของกฎหมายวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
การประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ในประเทศไทยเดิมอยู่ในความควบคุมของแพทย์ภายใต้ “พระราชบัญญัติการแพทย์ พ.ศ. 2466”
กำหนดความหมายของโรคศิลปะไว้ว่า “การบำบัดโรคทางยาและทางผ่าตัด รวมทั้งการผดุงครรภ์การช่างฟันการสัตวแพทย์การปรุงยาการพยาบาลการนวดหรือการรักษาคนเจ็บป่วยไข้โดยประการใดๆ”
ต่อมาในพ.ศ. 2472 มีการแก้ไขโดยการตัดสาขาสัตวแพทย์ออกโดยให้การประกอบโรคศิลปะเป็นการกระทำต่อมนุษย์เท่านั้น
-
:checkered_flag:กฎหมายแพ่งและพาณิชย์สำหรับพยาบาลและการกระทำความผิดที่พบบ่อย
-
:lock:นิติกรรม
:red_flag:ความหมาย
ปพพ. มาตรา149
การใดๆ อันทำลงโดยชอบด้วยกฎหมายและด้วยใจสมัคร มุ่งโดยตรงต่อการผูกนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคล เพื่อจะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิ
การกระทำของบุคคลด้วยใจสมัครและถูกต้องตามกฎหมาย มุ่งให้เกิดการเปลี่ยนแปลง โอน สงวนหรือระงับสิทธิระหว่างบุคคล
-
:red_flag:องค์ประกอบ
-
การกระทำโดยเจตนา
-
-
หากผู้กระทำไม่มีเจตนากระทำ แต่เข้าใจผิด ถูกข่มขู่ ฉ้อฉล กระทำโดยไม่รู้สำนึก ไม่รู้ตัว หรือถูกบังคับ ย่อมไม่ใช่นิติกรรม :!!:
-
-
-
-
:lock:สภาพบังคับทางแพ่ง
-
บทบัญญัติ :check:
-
:forbidden:โมฆียกรรม
การทำนิติกรรมที่มีผลสมบูรณ์ แต่สามารถบอกล้างหรือปฏิเสธนิติกรรมโดยผู้เสียหายในระยะเวลาที่กฎหมายกำหนด มีผลให้นิติกรรมนั้นตกเป็นโมฆะตั้งแต่เริ่มแรก
-
-
-
-
-
:lock:อายุความ
-
ถ้าผู้เสียหายใช้สิทธินั้นร้องเรียนต่อศาลเกินระยะเวลาที่กำหนด ศาลจะมีคำสั่งยกฟ้องได้ เนื่องจากคดีขาดอายุความ
-
:checkered_flag:กฎหมายอาญาสำหรับพยาบาลและการกระทำความผิดที่พบบ่อย
-
-
-
-
-
-
-
-
-