Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาทางจติสังคม แก่วัยเด็ก วัยรุ่น…
การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาทางจติสังคม แก่วัยเด็ก วัยรุ่น วัยผู้ใหญ่ และวัยผู้สูงอายุ
การขาดที่พึ่ง (Homeless)Link Title
ความหมาย
บุคคลซึ่งไร้ที่อยู่อาศัย ไม่มีรายได้เพียงพอแก่การยังชีพ ฐานะยากจน ไม่สามารถประกอบอาชีพได้ รวมถึงบุคคลที่อยู่ในสภาวะยากลำบาก ไม่อาจพึ่งพาคนอื่นได้
พระราชบัญญัติการคุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง พ.ศ.2557
ประเภทของคนไร้ที่พึ่ง
บุคคลซึ่งอาศัยที่สาธารณะเป็นที่พักนอนชั่วคราว
บุคคลที่มีสถานะทางทะเบียนราษฎรแต่ไร้สัญชาติ
คนเร่ร่อน
บุคคลที่ไม่มีสถานะทางทะเบียนราษฎร
บุคคลที่ประสบความเดือดร้อนอยู่ในภาวะยากลำบาก
กำหนดให้มีสถานคุ้มครองคนไร้ที่พี่ง และศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง มีหน้าที่จัดหาที่พักอาศัย อาหาร และเครื่องนุ่งห่ม จัดให้มีการตรวจสุขภาพกายและจิต
สาเหตุของการไร้บ้าน
ปัญหาทางเศรษฐกิจ
การปิดตัวของกิจการ
ถูกยึดที่ทำกิน
ปัญหาสังคม
ติดหนี้เพราะค้ำประกัน
ออกจากบ้าน
ไม่ได้รับโอกาสในการกลับตัวหลังกระทำผิด
การดูแลบุคคลไร้ที่พึ่ง
แจ้ง 1300
ให้ความช่วยเหลือตามที่ช่วยได้
ให้ข้อมูลที่จำเป็น
การดูแลผู้ป่วยจิตเวชไร้ที่พึ่ง
แจ้งตำรวจ
แจ้ง 1667 สายด่วนสุขภาพจิต
แจ้งหน่วยงานปกครอง
แจ้ง 1300 สายด่วนศูนย์ช่วยเหลือสังคม
มีพรบ.สุขภาพจิต พ.ศ.2551 คุ้มครอง
หลักการดูแลผู้ป่วยจิตเวชไร้ที่พึ่ง
ดูแลด้านร่างกาย
การกิน สุขอนามัย
การนอนหลับ พักผ่อน
การตรวจสุขภาพ
การออกกำลังกาย
การดูแลโรคทางกาย
ดูแลด้านจิตใจ
การดูแลบำบัดรักษาในรายที่มีความเจ็บป่วยทางจิต
การสร้างสัมพันธภาพ
การตรวจสภาพจิตและคัดกรองทางจิต
การผ่อนคลายความเครียด
การส่งเสริมความมีคุณค่าในตนเอง
การฝึกการเข้าสังคม
ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเมื่อทุเลาอาการ
ปัญหาสุขภาพของคนไร้ที่พึ่ง
ปัญหาสุขภาพกายและสุขภาพจิต
การเข้าถึงระบบสุขภาพ
ปัญหาปัจจัย 4
ภาวะวิกฤตทางอารมณ์(Emotion crisis)Link Title
ความหมาย
ปฏิกิริยาที่มีต่อเหตุการณ์ที่เป็นภยันตราย บุคคลจะใช้กลไก ทางจิตในการปรับตัวตามปกติแต่ไม่ได้ผล และรู้สึกถึงภาวะที่ตนเองไม่ สามารถที่จะทนได้อีกต่อไปเกิดความวิตกกังวล
ประเภท
วิกฤตการณ์ที่เกิดขึ้นในกระบวนการพัฒนาการ (Developmental or Maturational Crisis)
วิกฤตการณ์ที่เกิดจากภัยพิบัติ (Disaster Crisis)
ภัยพิบัติจากธรรมชาติ (Natural Disaster
ภัยพิบัติจากมนุษย์ (Man made Disaster)
วิกฤตการณ์ที่เกิดอย่างไม่คาดฝัน (Situational Crisis)
ขั้นตอนการเกิดภาวะวิกฤต
Defensive Retreat พยายามขจัดปัญหาโดยใช้ DM
Acknowledgement เผชิญกับความเป็นจริงอย่างรอบคอบ
Initial Impact รู้สึกตึงเครียดเมื่อรับรู้ว่ามีปัญหาเกิดขึ้น
Resolution or disintegration ปัญหาคลี่คลายหรือยุ่งยาก ขึ้น
ลำดับเหตุการณ์ภาวะวิกฤติทางอารมณ์
crisis period
postcrisis period
precrisis period
องค์ประกอบในการปรับตัวต่อภาวะวิกฤต
กลไกในการปรับตัวเผชิญปัญหา การเรียนรู้และประสบการณ์ต่าง ๆ
การได้รับความช่วยเหลือสนับสนุน ให้คำแนะนำปรึกษาหรือ ระบายความรู้สึกในปัญหาที่ไม่สามารถแก้ได้
การรับรู้ต่อเหตุการณ์
บุคลิกภาพที่เข้มแข็ง (strong ego) เป็นบุคคลที่มองโลกในแง่ดี ใจเย็นและมีสติ
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินผู้รับบริการก่อนสร้างสัมพันธภาพ และกระตุ้นให้ระบายความรู้สึก รับฟังด้วยความตั้งใจ
อธิบายว่าอารมณ์ที่เกิดขึ้น เกิดได้อย่างไร
จำกัดพฤติกรรมที่ก้าวร้าวและส่งเสริมการจัดการปัญหาอย่างเหมาะสม
ผลของภาวะวิกฤต
ความซึมเศร้า (Depression)
ความโกรธ (Anger)
ความกลัว (Fear)
การมีปฏิกิริยาตอบโต้อย่างรุนแรง (Potential for Violence)
ความโกรธ (Anger)Link Title
คำใกล้เคียงกันที่ควรรู้จัก
ก้าวร้าว (Aggression)
เป็นพฤติกรรมที่แสดงออกเกิดจากความโกรธ
มีเป้าหมายในการทำให้เกิดการบาดเจ็บ เสียหาย โดยคำพูดหรือการกระทำ
ไม่เป็นมิตร (Hostile)
เกิดขึ้นเมื่อบุคคลรู้สึกว่าตนถูกคุกคาม/ขาดพลังอำนาจ
อาจแสดงออกอย่างตรงไปตรงมาหรือซ่อนเร้น
พูดล้อให้อาย
การเฉยเมย ไม่พูดไม่ทักทาย
ใช้ถ้อยคำรุนแรง
โกรธ (Anger)
เป็นอารณ์ธรรมชาติของมนุษย์ที่อยู่ด้านใน และเป็นปฏิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นที่ไม่พอใจ
เป็นแรงที่ทำให้กล้าคิดกล้าตัดสินใจมากขึ้น หรือพร้อมในการป้องกันตนเอง
เกิดจากความหงุดหงิด นำไปสู่ความรู้สึกไม่พอใจ/อารมณ์รุรแรง
ความรุนแรง (Violence)
เป็นปฏิกิริยาของพฤติกรรมก้าวร้าวที่แสดงออกด้วยการทำร้าย/ทำลายโดยตรง
อาจเป็นอันตรายต่อผู้อื่น / ทรัพย์สิน
กลไกทางจิตที่พบบ่อย
Introjection
Suppression
Displacement
Suplimation
Projection
วงจรของภาวะโกรธ
Recovery Phase = กลับมาควบคุมตนเองได้
Post-crisis Phase = กลับสู่ปกติ
Escalation Phase = โกรธมากขึ้น เสียการควบคุม
Crisis Phase = เสียการควบคุม มีปัญหาการสื่อสาร
Triggering Phase = มีสิ่งกระตุ้น เริ่มโกรธ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความรู้สึกโกรธ
ให้การยอมรับและให้ข้อมูลว่าอารมณ์โกรธเป็นเรื่องปกติ
เปิดโอกาสให้ระบายความความรู้สึก
ชี้แนะและให้ข้อมูลให้ผู้รับบริการเข้าใจถึงผลเสีย ของการแสดงความโกรธออกมาอย่างไม่เหมาะสม
ส่งเสริมให้ผู้รับบริการวางแผนหาวิธีระบายความ โกรธของตนออกมาอย่างเหมาะสม
สร้างสัมพันธภาพด้วยท่าทีที่เป็นมิตร ใช้คำพูดที่ชัดเจน กระชับ ตรงไปตรงมา
Self awareness
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพฤติกรรมก้าวร้าวและมีพฤติกรรมรุนแรง
หลีกเลี่ยงการจ้องมองผู้ป่วยด้วยท่าทีขึงขัง
หากผู้ป่วยสามารถควบคุมอารมณ์ตัวเองได้บ้าง พูดคุยให้ผู้ป่วยได้ฉุกคิด เตือนสติโดยเน้นให้ผู้ป่วย
บอกความต้องการ “ต้องการอะไร จะให้ช่วยเหลืออะไรบ้าง”
มีทางเลือกไม่ได้ถูกบีบบังคับให้จนมุม “อยากจะเล่าอะไรให้ใครฟังก็บอกได้นะ” “ถ้าไม่อยากฉีดยา ลองปรึกษากับหมอดีไหม เผื่อหมอจะมีวิธีอื่นๆที่เหมาะกับเรา”
ผ่อนคลายอารมณ์ “ใจเย็นๆ มีอะไรก็คุยกันได้”
วางอาวุธ “วางมีดก่อนดีไหม คนอื่นๆ ก็ไม่มีใครถือมีด ทุกคนจะได้ปลอดภัย”
อยู่ในระยะที่ปลอดภัย ไม่เข้าใกล้ผู้ป่วย เฝ้า สังเกตพฤติกรรมผู้ป่วย
หากก้าวร้าวรุนแรง ควบคุมตนเองได้น้อย พิจารณาเรียกทีม จำกัดพฤติกรรมห้องแยก ผูกมัด และให้ยา
ถ้าผู้ป่วยส่งเสียงดัง ควรเรียกชื่อของผู้ป่วย ด้วยเสียงที่ดังพอสมควร
เมื่ออาการสงบ เปิดโอกาสให้ระบายความรู้สึก
สร้างสัมพันธภาพด้วยท่าทีที่เป็นมิตร
แนะนำวิธีการจัดการกับความโกรธเพื่อไม่ให้เกิด พฤติกรรมก้าวร้าว
จัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการบำบัด ลดสิ่งกระตุ้น
ประเมินระดับความก้าวร้าวพฤติกรรมรุนแรง
สาเหตุของความโกรธ
ปัจจัยทางด้านชีวภาพ (Biological factor)
บาดเจ็บที่สมอง เนื้องอกที่สมอง สมองเสื่อม
สารสื่อประสาท (HT5,DA, NE)
น้ำตาลในเลือดต่ำ
ปัจจัยทางด้านจิตสังคม (Psychosocial)
จิตเวชชุมชน (Community Psychiatry)
การดูแลบุคคล ครอบครัวและชุมชนทางด้านสุขภาพจิตที่ ครอบคลุมถึงการส่งเสริมสุขภาพจิต การป้องกันปัญหาทางจิต การบำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพทางจิตของผู้ป่วยในชุมชน โดยสนับสนุนให้ครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วม เน้นบริการเชิงป้องกันอย่างต่อเนื่อง ครบวงจรด้วยการประสานความร่วมมือขยายเครือข่ายให้ประชาชนเข้าถึงและเท่าเทียม
องค์ประกอบสำคัญ
ชุมชน
ทีมสหวิชาชีพ
ผู้ป่วย/ครอบครัว
หลักการจิตเวชชุมชน
ให้การบำบัดรักษาแบบทันทีทันใด
เน้นการบำบัดในที่เกิดเหตุหรือที่บ้านมากที่สุด
การส่งเสริมสุขภาพจิตและป้องกันการเจ็บป่วยทางจิต
ลักษณะเฉพาะของจิตเวชชุมชน
ส่งเสริม ป้องกัน บำบัด ฟื้นฟู ผู้ป่วยจิตเวชใน ชุมชน ประชากรผู้ที่สุขภาพจิตดี มีแนวโน้ม/ภาวะเสี่ยง และเจ็บป่วยทางจิต
บริการแบบต่อเนื่องและสมบูรณ์ สอดคล้องตามวิถีชีวิต
เน้นป้องกันทั้ง 3 ระดับ คือ Primary prevention, Secondary prevention, Tertiary prevention
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยในชุมชน
ให้คำปรึกษาครอบครัว แลประสานกับหน่วยงานด้านสังคมสงเคราะห์ เพื่อจดทะเบียนผู้พิการ ขอความช่วยเหลือจากภาครัฐ
เสริมสร้างการปรับตัวในชุมชน / เตรียมความพร้อมครอบครัว ชุมชน ในการดูแลผู้ป่วย และป้องกันไม่ให้ป่วยซ้ำอีก
ใช้ยาในขนาดเดิมที่ผู้ป่วยมีอาการดีขึ้น และนานถึง 6 เดือน เพื่อป้องกันอาการกำเริบซ้ำ
ญาติช่วยสังเกตอาการเตือน (Warning sign)
ระดับที่ 1 ระดับปกติ รับรู้ว่าตนเองหงุดหงิดง่าย มีความคิดกังวล เพิ่มขึ้น พักผ่อนได้ น้อย แต่ควบคุมและจัดการตนเองได้
ระดับที่ 2 ระดับปานกลาง ฟุ้งซ่าน หมกมุ่น ไม่หลับ ระแวง ไม่รับประทานอาหาร ไม่สนใจตนเอง
ระดับที่ 3 ระดับรุนแรง มีความคิดหวาดระแวง หลงผิด ประสาทหลอน หวาดระแวง ใช้ความรุนแรง
ชุมชนมีส่วนช่วย
ไม่ตรีตรา ให้การยอมรับว่าเป็นส่วนหนึ่ง
ร่วมกันสอดส่องดูแล
นางสาวนิโลบล ถุนนอก รหัส 612701055