Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลภาวะล้มเหลวหลายระบบ, image, image, image, นางสาวพิชญามน…
การพยาบาลภาวะล้มเหลวหลายระบบ
สาธารณภัย
ความหมาย
เป็นภัยที่เกิดแก่คนหมู่มาก เกิดขึ้นได้ทุกเวลาและทุกสถานที่ อย่างกะทันหันหรือค่อย ๆเกิดขึ้น เป็นอันตรายต่อชีวิตและร่างกายต่อประชาชน เกิดความเสียหายแก่ทรัพย์สิน ก่อให้เกิดความต้องการสิ่งจำเป็นพื้นฐานอย่างรีบด่วน
ประเภท
สาธารณภัยที่เกิดตามธรรมชาติ
ภาวะภูมิอากาศและฤดูกาล
ตามสภาพภูมิประเทศ
ภัยที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงของผิวโลก
ภัยทางชีวภาพ
สาธารณภัยที่เกิดจากมนุษย์
ภัยจากการพัฒนาประเทศ
ภัยความขัดแย้งและปัญหาในสังคม
Mass Casualty
อุบัติเหตุกลุ่มชน หรือบางคนก็เรียกว่า Mass Emergency ซึ่งเป็นการได้รับอุบัติเหตุหรือบาดเจ็บในคนหมู่มาก
ระดับที่ 1 (Multiple-Patient Incident) มีผู้ได้รับบาดเจ็บมากกว่า 10 คน และอาการไม่สาหัสมากทางหน่วยตรวจฉุกเฉิน สามารถจัดการได้ ไม่ต้องเปิดใช้แผน
ระดับที่ 2 (Multiple-Casualt Incident) มีผู้ได้รับบาดเจ็บไม่เกิน 100 คน มีอาการสาหัสหลายราย ต้องขอความร่วมมือจากเจ้าหน้าที่ภายในงานการพยาบาลผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยฉุกเฉิน หรือโรงพยาบาลอื่น
ระดับที่ 3 (Mass Casualt Incident)มีผู้ได้รับบาดเจ็บจำนวนมาก (ตั้งแต่ 100 คน ขึ้นไป) เหตุการณ์รุนแรง ต้องขอความช่วยเหลือจากแพทย์ที่เกี่ยวข้อง เจ้าหน้าที่ฝ่ายการพยาบาล เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ งานโภชนาการ ห้องยา ห้องผ่าตัด หน่วยขนย้าย หน่วยรังสี เจ้าหน้าที่ตำรวจ หน่วยเวช-ระเบียน และต้องรายงานต่อผู้บังคับบัญชาให้ทราบเพื่อดำเนินการ
วัตถุประสงค์
หลีกเลี่ยงการสูญเสียชีวิต
ป้องกันความเสียหายของทรัพย์สิน
ส่งเสริมและรักษาสิ่งแวดล้อมทางสังคมและเศรษฐกิจที่มีผลโดยตรงต่อสังคมนั้นๆ
Disaster management cycle
ขั้นตอนการปฏิบัติการ
ตามวัฏจักรของสาธารณภัย
การป้องกันและลดผลกระทบ
การเตรียมความพร้อมรับภัย
การตอบโต้และบรรเทาทุกข์
(การจัดการในภาวะฉุกเฉิน)
การฟื้นฟูบูรณะและก่อสร้างใหม่
ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน
ความหมาย
การจัดให้มีการดูแลผู้ป่วยฉุกเฉินภายใต้การกำกับดูแลของแพทย์ซึ่งมีส่วนร่วมจากทุกภาค ทุกองค์กรในชุมชนทุกระดับ โดยเน้นหนักด้านความรวดเร็ว วิธีการรักษาที่ถูกต้อง สามารถช่วยเหลือ ผู้อยู่อาศัยในพื้นที่ ช่วยเหลือผู้เจ็บป่วยฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุ มีการขนย้ายและการนำส่งผู้เจ็บป่วยฉุกเฉิน
การพยาบาลสาธารณภัย
การดำเนินกิจกรรมที่มุ่งลดความเสียหายต่อชีวิตและสุขภาพของมนุษย์ที่เกิดจากสาธารณภัย บนพื้นฐานองค์ความรู้
หลักสำคัญของ
การเข้าช่วยเหลือ
Safety : ประเมินความปลอดภัย
Scene : ประเมินกลไกการเกิดภัย
Situation : ประเมินสถานการณ์
การดูแลผู้ประสบภัยพิบัติหรืออุบัติภัยหมู่
D– Detection เป็นการประเมินสถานการณ์
I - Incident command เป็นระบบผู้บัญชาการเหตุการณ์และผู้ดูภาพรวมของการปฏิบัติการทั้งหมด
S – Safety and Security ประเมินความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานในที่เกิดเหตุ
A – Assess Hazards ประเมินสถานที่เกิดเหตุ
S – Support เตรียมอุปกรณ์และทรัพยากรที่จําเป็นต้องใช้ในที่
เกิดเหตุ
T – Triage/Treatment การคัดกรองและให้การรักษา
E – Evacuation การอพยพผู้บาดเจ็บระหว่างเหตุการณ์
R – Recovery การฟื้นฟูสภาพหลังจากเกิดเหตุการณ์
บทบาทของพยาบาลในการจัดการสาธารณภัย
การเตรียมความพร้อม
การจัดการในภาวะเกิดสาธารณภัย
การฟื้นฟูบูรณะ
Triage
Emergent
ผู้ป่วยด่วนมาก แทนด้วยสัญลักษณ์สีแดง ซึ่งผู้ป่วยกลุ่มนี้ต้องได้รับการแก้ไขภาวะคุกคามต่อชีวิตภายใน 1 นาที และไม่เกิน 4 นาที ได้แก่ ผู้ป่วยหยุดหายใจ หัวใจหยุดเต้น ผู้ป่วยช็อก หายใจลำบากมาก เจ็บอกจากกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดไปเลี้ยงเฉียบพลัน เป็นต้น
Urgent
ผู้ป่วยฉุกเฉิน แทนด้วย สัญลักษณ์ สีเหลืองผู้ป่วยกลุ่มนี้สามารถรอได้โดยไม่เกิดภาวะคุกคามต่อชีวิต แต่หาก
รอนานเกินไปอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนจนถึงชีวิตได้ ได้แก่ผู้ป่วยมีบาดแผล(ไม่มีเลือดออกมาก) ผู้ป่วยกระดูกหัก
ผู้ป่วยหอบเหนื่อย(ไม่มาก) ผู้ป่วยปวดท้อง เป็นต้น
Non urgent
ผู้ป่วยไม่ฉุกเฉิน แทนด้วย สัญลักษณ์สีเขียว เช่น ผู้ป่วยแผลถลอก ปวดท้องเรื้อรัง (สัญญาณชีพปกติ) ท้องโต เป็นต้น
ESI Conceptual Algorithm
Patient dying?
Shouldn’t wait?
How many resources?
Vital signs
การเตรียมรับผู้ป่วย
Prehospital phase การดูแลผู้ป่วย ณ ที่เกิดเหตุ
Secondary assessment
F ได้แก่ Fahrenheit ( Keep Patient warm)
G ได้แก่ Get a complete set of V/S
H ได้แก่ History & head- to-toe assessment
I ได้แก่ Inspect posterior surfaces
การสัมภาษณ์เพื่อการคัดกรอง
O = on set of symptoms
L = Location of problem
D = Duration of symptoms
C =Characteristics of the patient
A = Aggravating factors
R = Relieving factors
T = Treatment administered before arrival
การสัมภาษณ์เกี่ยวกับความเจ็บปวด
P = Provoking factor
Q = Quality of pain
R = Region/Radiation of pain
S = Severity of pain
T =Time pain began
T = Treatment
Inhospital phase
airway equipment
intravenous crystalloid solution
monitoring capability
laboratory and radiology
communication with trauma center
universal precaution
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บแต่ละอวัยวะ
การบาดเจ็บที่ใบหน้า
จากอุบัติเหตุ จะพบมีเลือดในช่องปากหรือจมูกและฟันหลุดในช่องปาก กระดูกขากรรไกรบนที่แตกรุนแรง
ตรวจร่างกายเบื้องต้น primary assessment
การรักษา
. Clear airway
Control hemorrhage
Management of shock
การบาดเจ็บที่คอ
อาการแสดง
ปวดต้นคอ กล้ามเนื้อคอแข็งเกร็ง, ปวด, บวม,อาจมีรอยฟกช้ำของเลือดให้เห็น มีแขนหรือขาชา และ อ่อนแรงร่วมด้วย
การรักษา
ดามคอที่หักให้ตรง rigid cervical collar
ดึงกระดูกคอ
การผ่าตัด
การบาดเจ็บที่ทรวงอก
ทางเดินหายใจส่วนบน พบกล้ามเนื้อบริเวณคอโป่ง sternocliedomastoid
ถ้าอากาศยังไม่สามารถเข้าปอดได้ ทรวงอกจะขยายออกไม่ได้เต็มที่ แต่กลับมีส่วนที่ยุบเข้าไปได้ คือ Suprasternal notch supraclavicular Fossae Intercostal space และ Epigastium จะยุบตัวเข้าไปทันที
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในภาวะการบาดเจ็บทรวงอก
ภาวะการเปลี่ยนแปลงในช่องเยื่อหุ้มปอด
ภาวะที่มีลมรั่วเข้าไปในช่องเยื่อหุ้มปอด
ภาวะที่มีของเหลวเข้าไปในช่องเยื่อหุ้มปอด
ภาวะที่มีการติดกันของเยื่อหุ้มปอดชั้นนอกและชั้นใน
ภาวะที่มีการเสียความแข็งแรงของผนังทรวงอก หรือภาวะอกรวน
การรักษา
ยึดหลัก ABCD
ภาวะอกรวน ยึดทรวงอกให้อยู่นิ่ง
รักษาภาวะช็อค
Cardiac tamponade มีอาการสำคัญ เรียก Beck’s Traid
การบาดเจ็บที่ช่องท้อง
ประเภทของการบาดเจ็บช่องท้อง
Blunt trauma
Penetrating trauma
ประเมินสภาพ
พบรอยช้ำ รอยแผลบริเวณท้อง หลัง เอว(Grey-Turner’s sign) และรอบสะดือ(Cullen’s sign)
ผู้ป่วยเกร็งหน้าท้องเองเวลากด หน้าท้องเกร็งจากการหดตัวของกล้ามเนื้อหน้าท้อง
อาจพบเสียงลำไส้ที่ช่องอก เคาะทึบ หรือโป่งอาจมีอาการคลื่นไส้อาเจียน อาเจียนเป็นเลือด
การบาดเจ็บกระดูกเชิงกราน
อาการและอาการแสดง
มีแผลที่ทวารหนักหรือช่องคลอด,เลือดออกทางเดินปัสสาวะ,คลำกระเพาะปัสสาวะได้,ตรวจทางทวารหนักคลำตำแหน่งของต่อมลูกหมาก
การดูแลรักษาเบื้องต้น
วัดสัญญาณชีพ ประเมินการสูญเสียเลือดอย่างรุนแรง
ให้สารน้ำทดแทน
การ Reduction และ Stabilization ทำ External fixator
การผ่าตัดผูกหลอดเลือด
นางสาวพิชญามน แสงสุวรรณ์ เลขที่ 51รหัสนักศึกษา 61121301054