Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบเลือด, นางสาวเข็มทราย มุมทอง รหัส…
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบเลือด
เลือดออกผิดปกติ
อาการ
hemarthrosis ภาวะที่มีเลือดออกใต้ข้อ
epistaxis ภาวะเลือดออกจากจมูก
echymosis เลือดออกเป็นจ้ำใหญ่ๆ
bleeding per gum ภาวะเลือดออกบริเวณเหงือกและไรฟัน
hematoma ภาวะที่มีเลือดคั่งเป็นก้อน
internal hemorrhage ภาวะเลือดออกในสมอง
petechiae ออกเป็นจุดเล็กๆ
purpura ภาวะเลือดออกใต้ผิวหนัง
สาเหตุ
ความปิดปกติของหลอดเลือด หลอดเลือดเปราะในผู้ป่วยที่มีปัญหา ติดเชื้อ ขาดอาหาร ขาดวิตามินซี รับประทาน steroid นานๆ
ความผิดปกติของเกล็อดเลือด ปริมาณเกล็อดเลือดต่ำหรือเกล็ดเลือดทำหน้าที่ผิดปกติ
ความพร่องในปัจจัยการแข็งตัวของเลือด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Bleeding time
Touniquet test
platelet count
Clot retraction
Prothrombin time (PT)
Partial thromboplastin time (PTT)
Venous clotting time (VCT)
Thrombin time (TT)
Idiopathic thrombocytopenic
purpura (ITP)
ลักษณะอาการ
echymosis
epistaxis
purpuric spot
abnormal menstrual
bleeding
petechiae
intracranial
hemorrhage
ผลการตรวจห้องปฏิบัติการ
WBC ปกติ บางรายพบ lymphocyte สูง
ิBone marrow พบตัวอ่อนของเกล็ดเลือดเพิ่ม
เกล็ดเลือดต่ำกว่า 60,000
platelet antibody ได้ผลบวก 38-76 %
platelet อายุไม่เกิน 1 วัน (ปกติ 9-11วัน)
การรักษา
การรักษาอาการ
การห้ามเลือดกำเดา anterior nasal packing
แนะนำและผู้ป่วยให้เข้าใจเกี่ยวกับโรค
หลีกเลี่ยงสาเหตุที่ทำให้เลือดออก
ให้เกล็ดเลือดในรายที่มีเลือดออกรุนแรง
การรักษาเฉพาะ
การให้ยา Pednisolone 1-2 มก/กก/วัน ยาจะช่วยเพิ่มความแข็งแรงของหลอดเลือด
ทำผ่าตัดเอาม้ามออก ในรายที่รักษาด้วยยา Pednisolone จะทำในเด็กที่อายุเกิน 4 วัน
Thrombocytopenia
อาการ
Nosebleeds
Mennorrhagia
Purpura
Hematuria
Ecchymosis
Blood in stool
Petechiae
การพยาบาล
ป้องกันไม่ให้เลือดออกโดยการ stop bleeding
บาดเจ็บทำ pressure dressing 10-15นาที ยกบริเวณที่มีเลือดออกให้สูง
Purpura ให้ผู้ป่วยนอนพักบนเตียง
Epistaxis ใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้บีบจมูกทั้ง 2 ข้าง และวางกระเป๋าน้ำแข็งบนหน้าผาก นั่งโยกตัวไปข้างหน้า
Bleeding per gum & teeth ให้ผู้ป่วยกัดก๊อซ ถ้าออกไม่มากให้บ้วนปากด้วยน้ำเย็น ห้ามดึงลิ่มเลือดออก
Hemarthrosis พันข้อด้วย elastic bandage งดการเคลื่อนไหวบริเวณและยกข้อให้สูงเหนือหัวใจ
ป้องกัน bleeding โดยไม่เกิด trauma
ขณะเลือดออดงดแปรงฟัน ทำความสะอาดฟันโดยการบ้วนปากด้วยน้ำยาบ้วนปาก
ขณะผู้ป่วยสลึมสลือให้ยกไม้กั้นเตียงขึ้นทุกครั้ง
ให้การพยาบาลอย่างนุ่มนวล ใช้แปรงผันชนิดขนอ่อน
ห้ามฉีดยาทางกล้ามเนื้อ ถ้า platelets น้อยกว่า 60,000 เซลล์/ลบ.มม
การเจาะเลือด ภายหลังเอาเข็มออกต้องกดเข็มไว้นานๆประมาณ 5-10 นาทีและต้องแน่ใจว่าเลือดหยุดจริง
ถ้า IV leakaged ต้องหยุดการให้ทันที
Snake bite (hematotoxin)
อาการ
ปวด บวม แดง ร้อน
ในกรณีของงูกะปะและงูเขียวหางไหม้ อาการเลือดออกมักไม่รุนแรง แต่บริเวณงูกัดจะรุนแรง
กรณีงูแมวเซา จะมีอาการปวดกล้ามเนื้อตามตัว มีอาการของภาวะ DIC และมีอาการของภาวะไตวายเฉียบพลัน
มีอาการเลือดออกผิดปกติ ได้แก่ เลืดดออกที่แผลมาก มีจ้ำเลือดที่แผล เลือดออกตามไรฟัน จุดเลือดตามตัว
การวินิจฉัย
Complete Blood count
การตรวจ
Thrombin time (TT)
Prothrombin time (PT)
partial prothromboplastin time (PPT),
การรักษาทั่วไป
ให้ยาแก้ปวด แอเคตามิโนเฟน ไม่ให้ยาแก้ปวดที่มีฤทธิ์กดส่วนประสาท
ไม่ให้แอสไฟรินในผู้ป่วยถูกงูระบบเลือดกัด
หยุดการเคลื่นไหวเฉพาะบริเวณที่ถูกกัด อาการบวมให้ยกบริเวณนั้นสูง
ให้ยาต้านจุลชีพในกรณีถูกงูเห่ากัดและงูจงอางกัดใช้ยาที่ครอบคลุมเชื้อ
ปลอบใจและให้ความมั่นใจกับผู้ป่วย
ควรให้ยากันบาดทะยัก
การรักษาภาวะฉุกเฉิน เช่น ช็อค การหยุดหายใจ
การให้เซรุ่ม
งูปะกะ VCT > 20 นาที ให้ 50 มล ให้ทุก 6 ชั่วโมง จนกว่า VCT ลดลง
งูเขียวหางไหม้ให้ 50 มล ให้ซ้ำทุก 6 ชั่วโมง จนกว่า
งูแมวเซา VCT > 20 นาที ให้ 60 มล ให้ทุก 6 จนกว่า VCT ลดลง
DIC
อาการ
Respiratory system
Dyspea
Chest pain
Hypoxia
GI
Hemoptysis
Melana
Gastric pain, Heartburn
Circulartory system
Pluse ลดต่ำลง
Cappillary filling น้อยกว่า 3 sec
Tachycardia
Renal system
Urine output ลดลง
Bun, cr เพิ่มขึ้น
Hematuria
Integumentary system
Joint Pain
Cyanosis
Temparature ต่ำ
การพยาบาล
หลีกเลี่ยงการใชเยาที่มีผลต่อหน้าที่ของเกล็ดเลือด
Mooonitor
หลีกเลี่ยงกิจกรรมต่างๆที่ทำให้เกิด Increase intracranial
pressure
หลีกเลี่ยงการใช้ยาเข้ากล้ามเนื้อและ rectal
suction โดยใช้ low pressure
สังเกต Clot รอบ IV site และ Injections site
Patient and family support
ภาวะซีด
สาเหตุ
การสร้างเม็ดเลือดแดงลดลง
การทำงานไขกระดูกล้มเหลว
จากการพยาธิสภาพของโรคต่างๆ
ขาดสารอาหารที่จำเป็นในการสร้างเม็ดเลือด
จากเม็ดเลือดแดงถูกทำลาย
ซีดจากพันธุกรรมบางชนิด
ภาวะซีดจากการติดเชื้อ
ภาวะซีดเนื่องจากยา
อาการ
ปัสสาวะมีสีคล้ำ
ปวดท้องอย่างมาก
ต่อมน้ำเหลือง
อาจพบตับม้ามโต
มีแผลบริเวณผิวหนัง
ซีดจากธาลัสซีเมีย
อาการ
ดั้งจมูกแฟบ ผิวหนังคล้ำ
ท้องโตเพราะตับม้ามโต
ซีด โหนกแก้มสูง หน้าผากนูนใหญ่
ต้องรับเลือดจนทำให้ธาตุเหล็ก
การรักษา
แบบประคับประคอง
ยาขับเหล็ก
การตัดม้าม
การให้เลือด
กรดโฟลิก
การรักษาอาการแทรกซ้อน
หลีกเลี่ยงอาหารที่มีธาตุเหล็กสูง
การรักษาต้นเหตุ
การเปลี่ยนยีน
การปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิด
การปลุกถ่ายกระดูก
ซีดจากภาวะพร่อง จี-6-พีดี
อาการ
ภาวะซีดเรื้อรัง เนื่องจากมีการแตกของเม็ดเลือดแดงเรื้องรัง
ภาวะซีดเฉียบพลัน อาการซีดลงอย่างรวดเร็ว ปัสสาวะดำ ไตวาย
การรักษา
ให้เลือดชนิด Packed red cell
ดูแลให้สารน้ำและติดตามภาวะสมดุลของน้ำและอิเล็กโตรไลต์
หาสาเหตุและหลีกเลี่ยงแก้ไข
รักษาตามอาการ
ให้คำแนะนำ หลีกเลี่ยงการใช้ยาโดยไม่จำเป็น
Lymphoid และ myeloid
สาเหตุ
สารก่อมะเร็ง
รังสี
ไวรัสบางชนิด เช่น ไวรัสเฮชทีแอลวี
อาการ
ภาวะซีดจากเม็ดเลือดแดงลดลง
เลือดออกง่ายจากเกล็ดเลือดลดลง
ติดเชื้อเมื่อมีเม็ดเลือดขาวลดลง
การรักษา
การสร้างภูมิคุ้มกัน Biological therapy
การปลูกถ่ายไขกระดูก
เคมีบำบัด
ซีดจากการสร้างเม็ดเลือดแดงลดลง
การขาดธาตุเหล็ก
อาการ
เหนื่อยง่าย
อ่อนเพลีย
อาการซีด
เวียนศีรษะ
การรักษา
หลีกเลี่ยงสาเหตุ
ให้เหล็ก
ระวังผลข้างเคียงของยา
รับประทานร่วมกับวอตามินซี
ซีดจากการขาดวิตามินบี12
อาการ
อาหารไม่ย่อย คลื่นไส้ อาเจียน
ลิ้นเลี่ยนแดง น้ำหนักลด
ความจำเสื่อม สับสน ชาที่แขนขา
การรักษา
ให้เลือดแก้ไขภาวะซีด
รับประทานอาหารพวกปลา เนื้อสัตว์ นมไข่
ผู้ป่วยอ่อนแรง อาจใฟ้พักบนเตียงจนกว่าฮีโมโกลบินจะสูงขึ้น
ให้ยาช่วยสร้างเม็ดเลือด เช่น Ferrous
ภาวะซีดอะพลาสติก
สาเหตุ
การได้รับยาที่ทำลายไขกระดูกโดยตรง
ยาฆ่าแมลง
สีย้อมผม
การติดเชื้อ
อาการแสดง
อาการเหนื่อย อ่อนเพลีย หายใจลำบาก
จ้ำเขียวตามผิวหนัง เหงือกและฟัน
จุดเลือดออกที่เยื่อบุเปลือกตา
มีไข้จากการติดเชื้อในร่างกาย
การรักษา
หารปลูกถ่ายไขกระดูกสำหรับผู้ที่มีเม็ดเลือดขาวต่ำ
ให้ยาปฏิชีวนะเมื่อติดเชื้อ
ให้เลือดชนิดต่างๆ
ให้ออกซิเจนต่ำสำหรับผู้ที่มีฮีโมโกลบินต่ำ
นางสาวเข็มทราย มุมทอง รหัส 61121301015