Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะขาดออกซิเจน (Birth asphyxia หรือperinatal asphyxia ) - Coggle Diagram
ภาวะขาดออกซิเจน (Birth asphyxia หรือperinatal asphyxia )
อาการและอาการแสดง
ระยะตั้งครรภหรือก่อนคลอด
ทารกมีการเคลื่อนไหวมากกวา่ ปกติและต่อมาจะมีการเคลื่อนไหวน้อยลงกว่าปกติอัตราการเต้นของหัวใจทารกในระยะแรกจะเร็วมากกวา่ 160คร้ัง/นาทีต่อมาจึงช้าลง
ระยะคลอด
พบขี้เทาปนในน้ำคร่ำ
ระยะหลังคลอด
2.การเปลี่ยนแปลงในระบบหัวใจและการไหลเวียนเลือด
การขาดออกซิเจน
ในระยะแรกร่างกายจะส่งเลือดไปเลี้ยงสมอง หัวใจและต่อมหมวกไต แต่ลดปริมาณเลือดที่ไปเลี้ยง
ผวิหนังลำไส้กล้ามเน้ือและไต ส่งผลให้ห้วใจเต้นเร็ว
3.การเปลี่ยนแปลงในระบบประสาท
ขาดออกซิเจนนานทารกจะซึม หยุดหายใจบ่อย หัวใจเต้น ช้าลง ม่านตาขยายกว้างไม่ตอบสนองต่อแสไม่มีDoll’s eye movementและมักเสียชีวติ ถ้าขาดออกซิเจนในระยะเวลาสั้น ๆ หรือสามารถกู้ชีพได้สำเร็จอย่างรวดเร็วอาจมีง เพียงอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรงและดูดนมได้ไม่ดีการเปลี่ยนแปลงในสมองเรียกว่า hypoxic
ischemic encephalopathy (HIE)
ชักมักเริ่มเห็นภายใน 12-24 ชั่วโมง
ระดับความรู้สึกตัวผิดปกติ
สูญเสียกำลังกล้ามเนื้อ
1.การเปลี่ยนแปลงในปอด
การขาดออกซิเจนทำให้หลอดเลือดในปอดหดตัว
ความดันเลือดในปอดสูงข้ึน เลือดไปเล้ียงปอดไดน้อ้ยลง การทำงานของเซลล์ปอดเสียไปทำให้ทารกคลอดก่อนกำหนดเกิดภาวะ RDS ส่วนทารกที่คลอดครบกำหนดจะเกิดภาวะ persistent pulmonary hypertention of the newborn (PPHN)
5.การเปลี่ยนแปลงทางเมตาบอลิซึม
ทารกมักจะเกิด
ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำแคลเซียมต่า และโปแตสเซียมสูง มีผลทำให้ทำรกชักและเสียชีวิต
4.การเปลี่ยนแปลงในระบบทางเดินอาหาร
ลำไส้จะบีบตัวแรงชั่วคราวทำให้ทารกถ่ายขี้เทาขณะอยู่ในครรภ์มารดาจึงเสี่ยงก่อการสำลักขี้เทาเข้าปอด
6.การเปลี่ยนแปลงในระบบทางเดินปัสสาวะ
ทารกจะมีปัสสาวะน้อยลง
หรือไม่ถ่ายปัสสาวะหรือถ่ายปัสสาวะเป็นเลือด (hematuria)
7.ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
2) ระดับน้ำตาลในเลือด 30 mg%
3) ค่าของ calcium ในเลือดต่ำกว่า 8 mg%
1)ค่า arterial blood gas ผิดปกติ คือ PaCO2 > 80 mmHg, PaO2 <40mmHg, pH < 7.1
4) ค่าของpotassium ในเลือดสูง
พยาธิสรีรภาพ
ร่างกายไม่สามารถดูดซึมออกซิเจนเข้าสู่ระบบไหลเวียน
เลือดได้ปริมาณออกซิเจนในกระแสเลือด่ำทำมีระดับแรงดันออกซิเจนในหลอดเลือดแดงต่ำและมีการคั่งของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงการ
ไหลเวียนเลือดในร่างกายโดยเลือดจะไปเลี้ยงอวัยวะที่สำคัญที่สุดในร่างกายก่อนส่วนอวัยวะอื่นๆ จะมีเลือดไปเลี้ยงน้อยลงถ้าไม่ได้รับการแก้ไขทารกจะหยุด หายใจ ซึ่งเป็นการหยุด หายใจครั้งแรก(primary apnea)ถ้าไม่ช่วยกู้ชีพทารกจะพยายามหายใจใหม่อีกครั้งแต่เป็นการหายใจที่ไม่สม่า เสมอประมาณ 4-5 นาที แล้วจะทรุดลงไปอย่างรวดเร็วและหยุด หายใจอย่างถาวร(secondary apnea )การขาดออกซิเจนทำให้ร่างกายเกิดปฏิกิริยาการเผาพลาญโดยไม่ใช้ออกซิเจนถ้าไม่ได้รับการแก้ไขที่ถูกต้อง
ภายใน 8 นาทีหลังเกิดการขาดออกซิเจนทารกจะเสียชีวิต
กลไกการเกิด
2.ไม่มีการแลกเปลี่ยนออกซิเจนที่รก
3.มีการนำออกซิเจนหรือสารอาหารจากมารดาไปยังทารกโดยผ่า นทางรกไม่เพียงพอ
1.การไหลเวียนเลือดทางสายสะดือขดัขอ้ง
4.ปอดทารกขยายไม่เต็มที่และการไหลเวยีนเลือดยังคงเป็นแบบทารกในครรภ์ไม่ปรับเป็นแบบทารกหลงัคลอดได้และไม่พัฒนาเป็นแบบผู้ใหญ่
การรักษา
การให้ออกซิเจน
ในทารกที่มีตัวเขียว อัตราการเต้นของหัวใจช้า หรือมีอาการหายใจลำบาก
ให้ออกซิเจน 100% ที่ผ่านความชื้นและอุ่นผ่านทาง maskหรือท่อให้ออกซิเจนโดยใช้มือผู้ให้ทำเป็นกระเปาะ
การช่วยหายใจ(ventilation)การช่วยหายใจดว้ยแรงดันบวกโดยใช้mask และ bag
ข้อบ่งชี้
เขียวขณะได้ออกซิเจน 100%
หยุดหายใจหรือหายใจแบบ gasping
อัตราการเต้นของหัวใจน้อยกว่า 100ครั้ง/นาที
การกระตุ้นทารก(tactile stimulation)
การเช็ดตัวและดูดเมือกจากปากและจมูกสามารถกระตุ้นทารกให้หายใจได้อย่างดี
การใส่ท่อหลอดลมคอ
ต้องการดูดสิ่งคัดหลั่งในหลอดลมคอ กรณีที่มีขี้เทาปนเปื้อนน้ำคร่ำ
เมื่อต้องการนวดหัวใจ
ช่วยหายใจด้วย mask และ bagแล้วไม่ได้ผล
ทารกมีไส้เลื่อนกระบังลม หรือน้ำหนักตัวน้อยกวา่ 1,000 กรัม
ต้องช่วยหายใจด้วยแรงดันบวกเป็นเวลานาน
ทำทางเดินหายใจให้โล่ง (clearing the airway)
กรณีมีขี้เทาปน
โดยใช้สายดูดเสมหะเบอร์ 12F-14F หรือใช้ลูกสูบยางแดงแล้วจึงทำ
คลอดลำตัวถ้าทารกไม่หายใจ ตัวอ่อน หัวใจเต้นช้ากว่า 100ครั้ง/นาทีใส่endotracheal tubeดูดขี้เทาออกจากคอหอยและหลอดคอให้มากที่สุดแต่ควรช่วยหายใจดว้ยความดัน บวก เมื่อมีอาการดีขึ้นจึงดูดในกระเพาะ
อาหารเพื่อป้องกนัการสา ลักซ้ำ
กรณีไม่มีขี้เทาปนในน้ำคร่ำ
หลังจากศีรษะทารกคลอดใช้ลูกสูบยางแดงดูดสิ่งคัด
หลั่งในปากก่อนแล้วจึงดูดในจมูก การดูดที่ดีควรทำเมื่อไหล่คลอดและดูดให้หมดก่อนคลอดลำตัว
การนวดหัวใจ(Chest compression)
มีข้อบ่งชี้ในการทำ
คืออัตราการเต้นของหัวใจทารกยังคงน้อยกว่า 60 ครั้ง/นาทีขณะที่ได้ช่วยหายใจด้วยออกซิเจน 100%นาน 30วินาที นวด
บริเวณกระดูกสันอกตรงตำแหน่งหนึ่งส่วนสามล่างของกระดูกสันอกความลึกประมาณ 1/3ของความหนาของทรวงอกและอัตราส่วนระหว่างการนวดและช่วยหายใจเป็น 3 : 1
การนวดหัวใจทำได้ 2วิธี
การใช้นิ้วหัวแม่มือทั้งสองข้างโดยใช้นิ้วหัวแม่มือทั้งสองข้างกดบนกระดูกสันอกใช้อุ้งมือโอบรอบหน้าอกและนิ้วที่เหลือเป็นตัวรองรับแผ่นหลังทารก
การใช้นิ้วมือ 2 นิ้วโดยใช้นิ้วชี้และนิ้วกลางของมือข้างหนึ่งกดบนกระดูกสันอกมืออีกข้างหนึ่งจะรองรับแผ่น หลังทารก
การให้ความอบอุ่น
ดูแลทารกภายใต้แหล่งให้ความร้อน(radiant warmer) หรือหลอดไฟที่เปิดอุ่นไว้ แล้วเช็ดผิวหนังทารกให้แห้งอย่างรวดเร็วด้วยผ้าแห้งและอุ่น แล้วเอาผ้าเปียกออก ห่อตัวทารกด้วยผ้าอุ่นผืนใหม่
การให้ยา (medication)
สารเพิ่มปริมาตร(volume expanders)
Naloxone hydrochroride (Narcan)
Epineprine
การวินิจฉัย
ประวัติการคลอด
การตรวจร่างกาย การประเมินคะแนน APGAR
อาการและอาการแสดง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ความรุนแรงของการขาดออกซิเจน
moderate asphyxia
ให้การช่วยเหลือโดยช่วยหายใจทันทีที่คลอดเสร็จโดยใส่ ET tube
และช่วยหายใจด้วยออกซิเจน 100%ผ่าน bagร่วมกับการนวดหัวใจ ถ้าไม่ดีขึ้นนจึงรักษาด้วยยา
severe asphyxia
ให้ออกซิเจน 100% และช่วยหายใจด้วย mask และbagเมื่อดีขึ้น
จึงใส่ feeding tube เข้ากระเพาะอาหารเพื่อ ดูดลมออก ถ้าไม่ดีขึ้นหลังช่วยหายใจนาน 30 วินาทีใส่ ET tubeและนวดหัวใจ
mild asphyxia
ให้ความอบอุ่นทำทางเดินหายใจให้โล่ง กระตุ้นการหายใจให้
ออกซิเจนผ่านสายออกซิเจนหรือ maskถ้าอาการดีขึ้นมีคะแนน APGAR ที่5 นาที >8 คะแนน ให้ดูแลต่อเหมือนทารกทั่วไป ถ้าคะแนน APGAR ที่5 นาที < 4 คะแนน ดูแลเหมือนทารกที่มีภาวะ moderate asphyxia
หมายถึง ภาวะที่ทารกแรกเกิดไม่สามารถหายใจได้อย่างมีประสิทธิภาพเป็นผลให้ขาดสมดุลของการแลกเปลี่ยนก๊าซทำให้มีระดับออกซิเจนในเลือดต่ำ (hypoxia) มีการคั่งของคาร์บอนไดออกไซด์(hypercapnia)และมีสภาพเป็นกรดในกระแสเลือด(metabolic acidosis)
การพยาบาล
บันทึกอัตราการหายใจ การเต้นของหัวใจทารกภายหลังคลอด
สังเกตอาการขาดออกซิเจน
เช็ดตัวทารกให้แห่งทันทีหลังคลอดและห่อตัวรักษาความอบอุ่นของร่างกาย
ดูแลให้ได้รับการตรวจทางห้องปฏิบัติการและได้รับยาตามแผนการรักษาของแพทย์
ดูแลให้ได้รับอาหารและสารน้ำตามแผนการรักษาของแพทย์
ดูแลความสะอาดของร่างกาย
ดูดสิ่งคัดหลั่งให้มากที่สุดก่อนคลอดลำตัว
ดูแลให้พักผ่อน
เตรียมทีมบุคลากร เครื่องมือให้พร้อมก่อนคลอด
10.ส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารก