Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เครื่องมือวิจัย Research Instrument, image, นางสาวมาติกา สุวรรณทอง เลขที่…
เครื่องมือวิจัย
Research Instrument
ความหมายของเครื่องมือวิจัย
เครื่องมือ อุปกรณ์ หรือสิ่งที่ใช้เป็นสื่อสำหรับนักวิจัย ใช้ในการรวบรวมข้อมูลตัวเเปรที่กำหนดไว้ อาจเป็นได้ทั้งข้อมูลเชิงปริมาณและข้อมูลเชิงคุณภาพ
ความสำคัญของเครื่องมือวิจัย
เป็นตัวเชื่อมระหว่างปัญหา วัตถุประสงค์
และ สมมุตฐิานในการวิจัยกับข้อมูลที่จะ
นํามาใช้เป็นหลักฐาน
ช่วยให้การรวบรวมข้อมูลกระชับ ตรงประเด็น ต่อเนื่อง เป็นขั้นตอน ซึ่งจะช่วยลดความผิดพลาดของการรวบรวมข้อมูล
ใช้ในการรวบรวมข้อมูล
4.ช่วยในการจัดเรียงข้อมูล เพื่อให้การวิเคราะห์ง่ายขึ้น
ประเภทของเครื่องมือ
1.เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง
มักเป็นอุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์
2.เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
แบบทดสอบ /แบบวัดความรู้
แบบสอบถาม
แบบสัมภาษณ์
แบบบันทึกข้อมูล/แบบบันทึกการสังเกต
แบบตรวจสอบ/บันทึกรายการ
เครื่องมือวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ
1.เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
วิธีการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
แบบประเมินความเสี่ยงเฉพาะโรคและกลุ่มอาการ
เครื่องชั่ง วัด ตวง / เครื่องทดสอบร่างกาย
2.เครื่องมือทางสังคมศาสตร์ และศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
แบบสัมภาษณ์
เป็นคำถามที่ผู้วิจัยกำหนดขึ้น
ไม่ละเอียด ปรับเปลี่ยนได้
แบบทดสอบ / แบบวัดความรู้
ใช้วัดความรู้ ความจำ เข้าใจ
แบบสอบถาม
เป็นชุดคำถาม เพื่อถามเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
นิยมใช้เก็บข้อมูลปฐมภูมิ
มักผสมผสานแบบทดสอบและแบบวัดสเกลไว้ด้วยกัน
แบบบันทึกข้อมูล
ใช้บันทึกข้อมูลทุติยภูมิ
แบบบันทึกสังเกต
ชุดรายการหรือแนวปฏิบัติที่ผู้วิจัยใช้ประกอบการสังเกตพฤติกรรม
แบบตรวจสอบรายการ
ชุดคำถามที่มีคำตอบ 2 คำตอบ เช่น มี-ไม่มี ผ่าน-ไม่ผ่าน
ผู้วิจัย
เครื่องมือสำคัญในการวิจัยเชิงคุณภาพ
การเลือกใช้เครื่องมือ/วิธีการในกาวิจัยทางวิทยาศสตร์สุขภาพ
3.วิธีทดสอบง่ายและให้ผลเร็ว
4.เครืองมือหรือวิธีการมีราคาไม่แพง
2.เลือกเครื่องมือที่มีความน่าจะเป็นและแม่นยำ
ใช้ตัวอย่างปริมาณน้อยๆ
1.เลือกเครื่องมือที่มีความถูกต้องสูง
การสร้างเครื่องมือ
การสร้างเครื่องมือเพื่อใช้เก็บรวบรวมข้อมูล เป็นกระบวนการที่ผู้วิจัยพยายามวัดตัวแปรที่ท าการศึกษา ซึ่งผลที่ได้จากการวัดตัวแปร เรียกว่า ข้อมูล
ข้อมูล
ข้อมูลปฐมภูมิ ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลเอง
ข้อมูลทุติยภูมิ ผู้วิจัยไม่ได้เก็บรวบรวมเอง
เครื่องมือวิจัย ประกอบด้วย 4 แบบ
4.แบบสังเกต เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยผู้วิจัยเข้าไปสังเกตพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมาย
3.แบบสัมภาษณ์ เป็นการเก็บข้อมูลโดยอาศัยการสัมภาษณ์ เผชิญหน้ากันระหว่างผู้สัมภาษณ์กับผู้ให้สัมภาษณ์
2.แบบสอบถาม เป็นการรวบรวมข้อมูลโดยส่งแบบสอบถามให้กลุ่มเป้าหมายตอบกลับ
1.แบบทดสอบ เป็นการเก็บข้อมูลเกี่ยวกับความรู้ความสามารถของบุคคล
มาตราวัดตัวแปร
1.มาตรนามบัญญัติ (Nominal scale): เป็นการจำแนกประเภทหรือจัดหมวดหมู่ของสิ่งต่างๆ
2.มาตรอันดับ (O rdinal scale) : สามารถเรียงลำดับได้โดยมีเกณฑ์ช่วยในการจัดลำดับ
3.มาตรอันตรภาค (Interval scale) : สามารถเรียงลำดับและบอกปริมาณความแตกต่างระหว่างค่าได้อย่างชัดเจน แต่ไม่มีศูนย์แท้
4.มาตรอัตราส่วน (Ratio scale) : สามารถเรียงลำดับและบอกปริมาณความแตกต่างระหว่างค่าได้อย่างชัดเจน มีศูนย์แท้
ลักษณะเครื่องมือวิจัยที่ดี
2.มีความเชื่อมั่น (reliability)
มีความเที่ยงตรง (validity)
มีความเป็นปรนัย (objectivity)
มีความยากง่ายพอเหมาะกับกลุ่มเป้าหมาย
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
ความเที่ยงตรง (Validity)
ความแม่นยำของเครื่องมือในการวัดสิ่งที่ต้องการจะวัดและคะแนนที่ได้จากเครื่องมือที่มีความตรงสูงสามารถบอกถึงสภาพที่แท้จริงและพยากรณ์ได้ถูกต้องแม่นยำ
การวัดความเที่ยงตรงเชิงเนื้อ
คำนวณหาค่า IOC (ดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามกับวัตถุประสงค์)
นำเครื่องมือไปให้ผู้เชี่ยวชาญพิจารณาความสอดคล้อง
ความเชื่อมั่น (Reliability)
ความคงที่ของผลที่ได้จากการวัดด้วยเครื่องมือชุดเดียวกันกับคนกลุ่มเดียวกันในเวลาที่ต่างกัน
วิธีสัมประสิทธิ์แอลฟา
1.วิธีคูเดอร์ริชาร์ดสันหรือการใช้สูตร (KR-20)
ขั้นตอนการประมาณค่าความเชื่อมั่น
3.พิจารณาสูตรที่เหมาะสมกับลักษณะของแบบสอบถาม
4.คำนวณตามสูตร
2.นำเครื่องมือที่ทดลองใช้มาตรวจให้คะแนน
5.หากค่าที่ได้ค่อนข้างต่ำจะต้องดำเนินการแก้ไข
1.นำเครื่องมือที่สร้างขึ้นไปทดลองใช้ (try out)
หลังการแก้ไข ผู้วิจัยต้องนำไปทดลองอีกครั้งและนำผลที่ได้มาประมาณค่าความเที่ยงใหม่หากผลที่ได้เป็นที่น่าพอใจ ผู้วิจัยสามารถนำเครื่องมือไปเก็บกับกลุ่มเป้าหมาย
การวัด การสร้างเครื่องมือและการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
การวัด (Measurement) กระบวนการกำหนดค่าตัวเลขของสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่ต้องการวัดอย่างมีหลักเกณฑ์และเป็นที่ยอมรับ
ประเภทของการวัด
การวัดทางกายภาพ
เครื่องมือมีมาตรฐาน
มีหน่วยวัดที่แน่นอน
ความคลาดเคลื่อนน้อยมาก
มีความตรง ความเที่ยง มีอำนาจจำแนกและสะดวกในการนำไปใช้
การวัดทางจิตมิติ
เครื่องมือไม่มีมาตรฐาน
มีหน่วยวัดไม่แน่นอน
ความคลาดเคลื่อนมีมาก เพื่อลดความคลาดเคลื่อน จำต้องสร้างให้มีความตรง ความเที่ยง มีอำนาจจำแนกและสะดวกในการนำไปใช้
ลักษณะของการวัด
การวัดโดยตรง (Direct Measurement)
• สังเกตได้
• สัมผัสได้
• เข้าใจง่าย
• ไม่ซับซ้อน
ไม่ยุ่งยาก
• ตรงไปตรงมา
การวัดโดยอ้อม (Indirect Measurement)
•ความเชื่อ
•ความรู้
•เจตคติ
•ความเจ็บปวด
•การปรับตัว
•ความเครียด
•ความพึงพอใจ
ข้อพิจารณาในการสร้างเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล
การศึกษาวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์การวิจัย
กำหนดคำนิยามของตัวแปร
แหล่งข้อมูล
ทรัพยากร และงบประมาณที่มีตลอดจนข้อจำกัดต่างๆ ของการทวิจัย
คำถามวิจัยและวัตถุประสงค์การวิจัย
การเลือกเครื่องมือโดยพิจารณาถึงข้อดีข้อเสีย
ศึกษาวิธีการมาตรฐานในการสร้างเครื่องมือของเครื่องมือที่เลือกใช้
เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์
เครื่องมือวัดทางด้านกายภาพ
เครื่องมือวัดแสง เสียง ฝุ่นในอากาศ
เครื่องมือวัดทางด้านเคมี
เครื่องวัดระดับน้ำตาลในเลือด
เครื่องมือวัดทางด้านชีวภาพ
เครื่องมือตรวจแบคทีเรียในเลือด ปัสสาวะ
แบบสัมภาษณ์
แบบสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง (Unstructured Interview) ไม่กำหนดคำถามที่แน่นอนตายตัว
แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง (Structured Interview) กำหนดไว้ล่วงหน้า
แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง (Semi-structured or guided Interviews) กำหนดคำถามที่พอจะตัดสินใจ ใช้คำสำคัญ
ชนิดของแบบสอบถาม
แบบสอบถามชนิให้ผู้ตอบด้วยตนเอง
แบบสอบถามทางไปรษณีย์ (Mail Questionnaires)
ข้อดี
ประหยัด สามารถใช้กับตัวอย่างขนาดใหญ่กระจายทั้งประเทศ
ให้เวลาคนตอบได้คิดพิจารณาก่อนตอบ
เหมาะสำหรับบางเรื่องที่ถือว่าเป็นความลับคนตอบสามารถตอบได้สะดวกใจมากกว่ามีคนถาม มีอิสระในการตอบ
ข้อเสีย
ไม่เหมาะกับบางพื้นที่ที่ไปรษณีย์ไปไม่ถึง
การส่งกลับมีอัตราต่ำ
3.ข้อมูลที่ได่ไม่ครบถ้วน
แบบสอบถามตอบด้วยตนเองแล้วไปรับคืน
ข้อดี
1.มีโอกาสซักถาม ได้ข้อมูลครบถ้วนมากขึ้น
2.สามารถเพิ่มรายละเอียดได้มากขึ้น
โอกาสในการได้รับกลับคืนมีเปอร์เซ็นต์มากกว่า
ข้อเสีย
1.กลุ่มตัวอย่างต้องมีการศึกษาสูงพอ
2.กลุ่มตัวอย่างต้องอยู่ที่เดียวกัน
แบบสอบถามชนิดใช้ผู้สัมภาษณ์ (Interviewed Questionnaires)
ข้อดี
1.เก็บข้อมูลได้ครบถ้วน
2.ใช้ได้กับประชากรทุกประเภท
3.สามมารถเพิ่มรายละเอียดได้
ข้อเสีย
สิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย เวลา และกำลังคนมาก
2.ควบคุมคุณภาพได้ยาก
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิทยาศาสตร์
การสอบเทียบ (Calibration)
การเปรียบเทียบค่าที่ได้จากเครื่องมือกับค่ามาตรฐาน เพื่อให้แน่ใจว่าเครื่องมือวัดที่จะนำไปใช้แล้วมีค่าที่แม่นยำเชื่อถือได้
การทวนสอบ (Verification)
เป็นการทวนสอบเพื่อประกันว่าวิธีการวิเคราะห์มาตรฐานหรือวิธีการวิเคราะห์อ้างอิงที่นำมาใช้มีความถูกต้องเเม่นยำ
การสอบทวน (Validation)
เป็นการยืนยันความถูกต้องและเหมาะสม
การสอบกลับ (Traceability)
การทดสอบความเชื่อมั่น
วิธีแบบความคงที่ (Stability) เรียกวิธีนี้ว่าวิธีการทดสอบซ้ำ test-retest
วิธีใช้แบบทดสอบคู่ขนาน (Equivalence or Parallel Form)
วิธีหาความสอดคล้อยภายใน
วิธีแบ่งครึ่ง (Split-Half Method)
วิธ๊ใช้สูตรคูเตอร์และริชาร์ตสัน (Kuder-Richardson)
Cronbach Alpha Coefficient Reliability
ปัจจัยที่มีผลต่อความเที่ยง/การเพิ่มความเที่ยง
ปัจจัยที่มีผลต่อความเที่ยง
จำนวนข้อและจำนวนคำตอบ
ความยาก ง่ายของข้อคำถาม
ความเป็นปรนัย
การดำ
การเพิ่มความเที่ยง
เขียนคำถามด้วยภาษาที่ชัดเจน ไม่กำกวม
เพิ่มจำนวนคำถามให้มากขึ้น
เขียนคำชี้แจงการตอบให้ชัดเจน
นางสาวมาติกา สุวรรณทอง เลขที่ 66 รหัสนักศึกษา 612901065