Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 เครื่องมือวิจัย (Research instruments), นางสาวเสาวนีย์ สุทธิการ…
บทที่ 7
เครื่องมือวิจัย
(Research instruments)
การสร้างเครื่องมือ
ความหมาย
การสร้างเครื่องมือเพื่อใช้เก็บรวบรวมข้อมูล เป็นกระบวนการที่ผู้วิจัยพยายามวัดตัวแปรที่ทำการศึกษา ซึ่งผลที่ได้จากการวัดตัวแปร เรียกว่า ข้อมูล
ความสําคัญ
ใช้ในการรวบรวมข้อมูล เป็นส่วนประกอบสําคัญของการวัดการประเมินตัวแปรในการวิจัย
เป็นตัวเชื่อมระหว่างปัญหาวัตถุประสงค์และสมมติฐานในการวิจัยกับข้อมูลที่จะนำมาใช้เป็นหลักฐาน
ช่วยกันรวบรวมข้อมูลกระชับตรงประเด็นเป็นขั้นตอนการช่วยลดความผิดพลาดของการรวบรวมข้อมูล
ช่วยจัดเตรียมข้อมูลเพื่อให้การวิเคราะห์ง่ายขึ้น เช่น การจัดหมวดหมู่ข้อมูลและการวางแผนการใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล
เครื่องมือในการทดลอง
มักเป็นอุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ที่มีคุณภาพได้มาตรฐาน
แบ่งออกเป็น
เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
เครื่องทดสอบร่างกาย
วิธีการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
เครื่องชั่ง ตวง วัด
แบบประเมินความเสี่ยงเฉพาะโรคหรือกลุ่มอาการ
เครื่องมือทางสังคมศาสตร์และศาสตร์อื่นๆ
แบบสอบถาม/แบบวัดความรู้
แบบบันทึกข้อมูล/แบบบันทึกการสังเกต
แบบสอบถาม/แบบสัมภาษณ์
แบบตรวจสอบรายการ
ผู้วิจัย
การเลือกใช้เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ
เลือกเครื่องมือที่มีความน่าเชื่อถือและแม่นยำ
วิธีทดสอบทำง่ายให้ผลรวดเร็ว
เลือกเครื่องมือที่มีความถูกต้องสูง
เครื่องมือหรือวิธีการมีราคาไม่แพง
ใช้ตัวอย่างปริมาณน้อย ๆ ได้
เครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล
แบบทดสอบ/แบบวัดความรู้
แบบบันทึกข้อมูล/แบบบันทึกการสังเกต
แบบสัมภาษณ์
แบบตรวจสอบ/แบบบันทึกรายการ
แบบสอบถาม
การสร้างเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล
จะมีกระบวนการสร้างเหมือนกันซึ่งความหมายเห็นได้ชัด
คือการเขียนคำถามในการวางรูปแบบของเครื่องมือ
แบบบันทึกจะสังเกตตามตัวแปรและประเด็นที่ต้องการ
แบบสอบถาม
ปลายปิดมากกว่าปลายเปิด
แบบปลายเปิด
ขยายความคิดเห็นหรือให้รายละเอียดของคำตอบ
แบบลายปิด
กำหนดขอบข่ายแนวคิดเรื่องราวที่ตอบให้ชัดเจน
เขียนข้อความหรือข้อคำถามจากหัวข้อย่อยทุกหัว
ข้อจัดเรียงลำดับข้อคำถาม
ควรประเมินความถูกต้องและฝึกลองหาคำตอบจากทุกข้อคำถามก่อน
แบบสัมภาษณ์ปลายเปิดมากกว่าปลายปิด
กระบวนการสร้างเครื่องมือการวิจัย
วิเคราะห์นิยามเชิงปฏิบัติการของตัวแปรในการวิจัย
กำหนดกรอบตัวแปรของเครื่องมือการวิจัย
ศึกษาค้นคว้าแนวคิดทฤษฎีและรายงานการวิจัย
กำหนดกรอบตัวแปรของเครื่องมือการวิจัย
วิเคราะห์ปัญหาวัตถุประสงค์ของการวิจัยสมมติฐานและกรอบแนวคิดในการวิจัย
ตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวิจัย
ทดสอบเครื่องมือวิจัย
ปรับปรุงคุณภาพของเครื่องมือวิจัย
พิจารณากลุ่มคำถามและความต่อเนื่องของคำถาม
การตรวจสอบความตรงด้วยวิธีอื่นๆ
การตรวจสอบความตรงโดยผู้เชี่ยวชาญเฉพาะ
การตรวจสอบความตรงโดยนักวิจัย
การตรวจสอบความตรงด้วยวิธีอื่นๆ
การหาค่าสหสัมพันธ์ภายในเครื่องมือ
การใช้วิธี Known Group technique
ความเที่ยงของเครื่องมือ
ค่าสัมประสิทธิ์ของความเที่ยง
หมายถึงเรื่องมือนั้นไม่มีความเที่ยง
หมายถึงเรื่องมือนั้นมีความเที่ยงสูง
โดยปกติเครื่องมือการวิจัยควรมีค่าความเที่ยงไม่
น้อยกว่า 0.65 แต่ที่ดีควรจะมีค่ามากกว่า 0.75
ลักษณะของเครื่องมือที่ดี
คุณภาพของเครื่องมือขึ้นอยู่กับลักษณะสำคัญที่ต้องพิจารณาได้แก่ ความเที่ยงตรง
ความเชื่อมั่น ความเป็นปรนัยอำนาจจำแนกปฏิบัติจริงได้ยุติธรรมและมีประสิทธิภาพ
นางสาวเสาวนีย์ สุทธิการ 612901089