Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาเซลล์ผิดปกติ, นางสาวอรณา สุุทธิเชษฐ์ รุ่น 36/2 …
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาเซลล์ผิดปกติ
มะเร็งเม็ดเลือดขาว ALL(Acute lymphoblastic leaukemia)
ชนิดของมะเร็งเม็ดเลือดขาว
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิด ALL
T-cell lymphoblastic leukemia
B-cell lymphoblastic leukemia
( พบบ่อยที่สุด )
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิด AML
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเรื้อรังชนิด CLL
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเรื้อรังชนิด CML
สาเหตุ
ด้านพันธุกรรม
เด็กที่เป็นดาวน์ซินโดรม (Down’s syndrome ) จะมีความเสี่่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งเม็ด เลือดขาวเฉียบพลันชนิด ALL และ AML มากกว่าคนปกติ
ครอบครัวที่มีสมาชิกเป็นโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิด ALL
ในฝาแฝดที่เป็นโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิด ALL โดยเฉพาะ เมื่อเป็นโรคตั้งแต่อายุยังน้อย
ด้านสิ่งแวดล้อม
การมีประวัติได้รับยาเคมีบำบัดในการรักษาโรคมะเร็งชนิดอื่นมาก่อน
ได้รับสารเคมีต่างๆ ที่เป็นพิษจากสิ่งแวดล้อมหรือจากควันบุหรี่และการสูบบุหรี่่
มีประวัติได้รับสีไออนไนซ์ (Ionizing radiation)
อาการ
ระยะแรก
เบื่ออาหาร
น้ำหนักลด
ซีด
อ่อนเพลียง่าย
เลือดออกง่าย
การวินิจฉัย
เจาะเลือดตรวจหาเซลล์เม็ดเลือดตัวอ่อนของเม็ดเลือดขาว Blast cell
การเจาะไขกระดูก Bone marrow Transplanted
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง ( lymphoma )
ชนิดของมะเร็งต่อมน้ำเหลือง
มะเร็งต่อมน้้าเหลืองชนิดฮอดจ์กิน(Hodgkin Lymphoma)
Burkitt Lymphoma มีลักษณะพิเศษคือ มีต้นกำเนิดมาจาก B-cell( B lymphocyte)
มะเร็งต่อมน้ำเหลืองชนิดนอนฮอดจ์กิน (Non-Hodgkin Lymphoma)
อาการ
ระยะลุกลาม
ซีด มีเลือดออกง่าย
ในรายที่เป็นมะเร็งในช่องท้อง ผู้ป่วยจะมีอาการแน่นท้อง อาหารไม่ย่อย
ระยะเริ่มต้น
มีไข้ หนาวสั่น เหงื่อออกมากตอนกลางคืน คันทั่วร่างกาย
เบื่ออาหาร น้ำหนักลด อ่อนเพลียไม่ทราบสาเหตุ
คลำพบก้อนที่บริเวณต่าง ๆ เช่น คอ รักแร้ ขาหนีบ เต้านม
ไอเรื้อรัง หายใจไม่สะดวก ต่อมทอนซิลโต
ปวดศีรษะ
การรักษา
การใช้ยาเคมีบำบัด (Chemotherapy)
การฉายรังสี(Radiation Therapy)
การรักษาด้วยการปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิด(Transplantation )
มะเร็งไต ( Neuroblastoma )
อาการ
ท้องโต
ปวดท้อง
มีก้อนในท้อง
ตาโปนมีรอยช้ำรอบตา(raccoon eyes)
ปวดกระดูก
มีไข้
อัตราการตายสูง
เป็นเนื้องอกชนิดร้ายแรงที่พบได้บ่อยในเด็กอายุน้อยกว่า 5 ปี
เป็นเนื้องอกที่มีต้นกำเนิดมาจากเซลล์ของระบบประสาท(Neural crest)
สามารถเกิดบริเวณใดก็ได้ที่มีเนื้อเยื่อ Sympathetic nerve
การรักษาด้วยยาเคมีบำบัด
( Chemotherapy)
ระยะการรักษาเคมีบำบัด
ระยะให้ยาแบบเต็มที่
(intensive or consolidation phase)
Metrotrexate , 6 – MP ,Cyclophosephamide
ระยะป้องกันโรคเข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลาง (CNS prophylaxis phase)
Metrotrexate, Hydrocortisone
, ARA – C
ระยะชักนำให้โรคสงบ (induction phase)
Vincristine, Adriamycin,
L – Asparaginase ,Glucocorticoid
ระยะควบคุมโรคสงบ (maintenance phase or
continuation therapy)
การให้ 6 – MP , Metrotrexate
การรักษาประคับประคอง
การรักษาทดแทน (Replacement therapy)
การรักษาด้วยเกร็ดเลือด
การให้ยาเคมีบำบัด
ทางกล้ามเนื้อ หลังฉีดต้องระวัง เลือดออก
ทางหลอดเลือดดำ vein
ทางช่องไขสันหลัง intrathecal
ยาเคมีบำบัด
Mesna
Bactrim
ป้องกันการติดเชื้อฉวยโอกาส เนื่องจากผู้ป่วยมีภูมิต้านทานต่ำ
Ceftazidime(fortum)
ป้องกันการติดเชื้อเนื่องจากมีไข้หลังได้รับยาเคมีบำบัด
Ondasetron(onsia)
ป้องกันอาการคลื่นไส้อาเจียนใน
ผู้ป่วยมะเร็งที่ต้องเข้ารับการรักษาด้วยยาเคมีบำบัด
Amikin
ป้องกันการติดเชื้อเนื่องจากมีไข้หลังได้รับยาเคมีบำบัด
Cytarabine(ARA-C)
รักษามะเร็งชนิด Acute lymphoblastic
leukemia (ALL)โดยจะขัดขวางการสร้าง DNA
Methotrexate
รักษามะเร็ง Acute leukemiaโดยยับยั้งการสร้าง
DNA และRNA และมีฤทธิ์กดการเจริญเติบโตของเซลล์
Mercaptopurine(6-MP)
รักษามะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลันโดยยับยั้งการสร้าง Purine ยับยั้งการสร้างกรดนิวคลีอิก
Cyclophosphamide
รักษามะเร็งเม็ดเลือดขาวทำให้
เพิ่มจำนวนไม่ได้
การดูแลเด็กที่ได้รับยาเคมีบำบัด
ผลข้างเคียงของยาเคมีบำบัด
ผลต่อระบบทางเดินอาหาร
ทำให้มีอาการเบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน แผลในปากและคอในรายที่มีอาการอาเจียนแพทย์จะมีแผนการรักษาให้ยา Onsia (ondansetron) เข้าทางหลอดเลือดดำ
ดูแลป้องกันการติดเชื้อในช่องปากด้วย โดยการให้ผู้ป่วยบ้วนปากด้วย 0.9%NSS อย่างต่อเนื่องทุกครั้งหลังรับประทานอาหาร หรืออาจจะทุก 2 ชั่วโมงในรายที่มีแผลในปาก
นอกจากนี้ผู้ป่วยมีภาวะภูมิต้านทานต่ำจึงจำเป็นต้องป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินอาหารด้วยการให้ผู้ป่วยรับประทานLow
Bacterial diet คืออาหารที่สุกสะอาดและปรุงเสร็จใหม่ๆ
ผลต่อระบบผิวหนัง
ทำให้ผมร่วง หลังจากได้ยาไปแล้ว 2-3 สัปดาห์และจะงอกขึ้นมาใหม่หลังหยุดยา2-3 เดือน
ผลต่อระบบเลือด
เม็ดเลือดขาวต่ำ (Leukopenia)
เม็ดเลือดขาวต่ำปานกลาง ANC 500-1000 เซลล์/ลบ.มม.
เม็ดเลือดขาวต่ำรุนแรง ANC ต่ำกว่า 500 เซลล์/ลบ.มม.
เม็ดเลือดขาวต่ำเล็กน้อย ANC 1000-1500 เซลล์/ลบ.มม.
เกร็ดเลือดต่ำ (thrombocytopenia)
ในรายที่มีต่ำกว่า 50,000เซลล์/ลบ.มม.จะมีความเสี่ยงต่อการเกิดอาการเลือดออกง่ายหยุดยาก
เม็ดเลือดแดง : RBC
ผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีบำบัดจะมีภาวะซีด (Anemiaเลือดเมื่อระดับค่า Hb อยู่ที่ 8-10 gm/dl (ค่าปกติของ Hb มักจะเป็น 1/3 เท่าของ Hct.) Hct 24-30 gm/dl)
ระบบทางเดินปัสสาวะ
การตกตะกอนของยาเคมีบำบัดทำให้กระเพาะปัสสาวะอักเสบ Cystitis ดังนั้นผู้ป่วยจะต้องได้รับน้ า ที่มากพอทางหลอดเลือดดำและทางปาก และต้องปรับให้ปัสสาวะมีฤทธ์เป็นด่างโดยให้7.5% NaHCO3 ติดตามค่า
sp.gr ให้ต่ ากว่า 1.010 และค่า PH ของปัสสาวะสูงกว่า 6.5-7 (สภาพความเป็นด่าง)
ตับ
ซึ่งตับส่วนที่ถูกทำลายจะหายเป็นปกติได้ภายใน 2-3 สัปดาห์หลังจากได้รับยาเคมีบำบัด
ยาเคมีบำบัดส่วนใหญ่จะถูกย่อยสลายที่ตับและยาเคมีบำบัดบางชนิดมีฤทธิ์ทำลายตับหลังได้ยาเคมีบำบัด ผู้ป่วยจะได้รับยาป้องกันการติดเชื้อปอด โดยแพทย์จะมีแผนการรักษาให้ (Bactrimหรือ Cotrimoxazole)ผู้ป่วยต้องรับประทานอยู่ประจำทุกวันศุกร์เสาร์อาทิตย์ขณะรับการรักษาด้วยเคมีบำบัดซึ่งผู้ป่วยจะต้องรับประทานต่อไปอีก 6 เดือนหลังจบการรักษา
อาการของผู้ป่วยตัวตาเหลือง , อ่อนเพลีย, ปวดชายโครงด้านขวา, ท้องโตขึ้นหรือเท้าบวม
สามารถตรวจติดตามโดยการเจาะเลือดดูการทำงานของตับเป็นระยะ
การวางแผนการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีบำบัด
การดูแลผู้ป่วยหลังได้รับยาเคมีบำบัดผ่านเข้าทางช่องไขสันหลัง( Intrathecal:IT)
หลังให้ยาต้องจัดให้ผู้ป่วยนอนราบ 6-8 ชั่วโมง
เพื่อป้องกันการเกิด Herniation ของสมอง
นอกจากนี้การให้ยาแพทย์จะต้อง นำน้ำไขสันหลังออก
เท่ากับจำนวนยาที่ใส่เข้าไป โดยนับหยดน้ำไขสันหลัง 15 หยดต่อ 1 ซีซี
การดูแลป้องกันการเกิดแผลในปาก
จะไม่แปรงฟันถ้าเกร็ดเลือดต่ำกว่า
50,000 cell/cu.mm แต่ถ้าเกร็ดเลือดเกินกว่านี้สามารถแปรงฟันได้ และต้องใช้แปรงสีฟันที่อ่อนนุ่ม
Xylocaine Viscus
จะให้ครั้งละ 1 ml.ให้ผู้ป่วยอมไว้ ประมาณ 2-3 นาทีและบ้วนทิ้งไม่ควรกลืนเนื่องจากมียาชาเป็นส่วนผสม
ผู้ป่วยบางรายอาจได้รับยาฆ่าเชื้อราในปาก
Nystatin oral
ต้องดูแลให้ผู้ป่วยเด็กอมยาไว้ในปาก 2-3 นาทีไม่ต้องให้น้ำตาม ( เพื่อให้ยาค้างในช่องปากนานๆ ) และต้องให้หลังให้นม เพราะถ้าให้ก่อนให้นม เด็กดูดนมยาก็จะไปกับนม ไม่ค้างในปากการรักษาประมาณ
7-14 วัน
รับประทานอาหารที่สุกใหม่
งดอาหารที่ลวก ย่าง รวมทั้งผักสด ผลไม้ที่มีเปลือกบาง เช่น ชมพู่ องุ่น ฝรั่ง ดื่มนมที่ผลิตด้วยวิธีสเตอริไลส์ และยูเอช ที UHT แทนการดื่มนมพลาสเจอร์ไลด์ ไม่ควร ให้ญาติซื้อข้าวแกงมาให้ผู้ป่วยรับประทาน
การดูแลปัญหาซีด
ผู้ป่วยเด็กที่ได้รับยาเคมีบำบัดจะเกิดภาวะแทรกซ้อนคือไขกระดูกถูกกด มีผลต่อการสร้างเม็ดเลือดทำให้เม็ดเลือดลดน้อยลง ถ้าเม็ดเลือดแดงลดลงผู้ป่วยจะมีภาวะซีด
จึงต้องดูแลผู้ป่วยขณะให้เลือด โดยการติดตามประเมิน V/S อย่างต่อเนื่อง ทุก 15นาที 4 ครั้ง หลังจากนั้นทุก 1⁄2 ชั่วโมงจนกว่าจะ Stable ก่อนให้เลือดแพทย์จะให้ยา Pre-med คือ PCM และ lasix ต้องดูแลให้เลือดหมดโดยใช้เวลา 3-4 ชั่วโมง
หลังจากนั้นติดตามค่า Hct หลังให้เลือด หมดแล้ว 4ชั่วโมง แนะนำให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารที่มีโปรตีนและธาตุเหล็กสูง เพื่อสร้างเม็ดเลือด อีกเรื่องที่สำคัญคือการให้เลือดที่ติดต่อกัน ต้องเฝ้าระวังภาวะชักจากความดันสูง(HCC syndrome : Hypertensive convalsion cerebral hemorrhage syndrome)
การดูแลป้องกันเลือดออกง่ายหยุดยาก
ผู้ป่วยจึงเสี่ยงเลือดออกง่ายหยุดยากเนื่องจากการสร้างเกร็ดเลือดลดลง แพทย์อาจมีแผนการรักษาให้ Platlet concentration หลักการให้คือให้หมดภายใน 1⁄2 -1 ชั่วโมงเนื่องจากมี half life สั่น การให้จึงต้องให้หยดแบบ free flow
นางสาวอรณา สุุทธิเชษฐ์ รุ่น 36/2 เลขที่ 57 รหัสนักศึกษา 612001138