Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Cell Biology, ส่วนห่อหุ้มเซลล์เป็นโครงสร้างที่ห่อหุ้ม โพรโทพลาสซึมให้คงรูป…
Cell Biology
ความรู้เบื่องต้น
:red_flag:
Introduction
:red_flag:
เซลล์ (Cell) = โครงสร้างและหน่วยทำงานท่ีเล็กที่สุดของ
สิ่ง มีชีวิต
Unicellular organism คือ สิ่งมีชีวิตที่เกิดขึ้นจากเซลล์ 1เซลล์
Multicellular organism คือ สิ่งมีชีวิตที่เกิดขึ้นจากเซลล์มากกว่า 1 เซลล์
Robert Hooke เป็นผู้ค้นพบและตั้ง ชื่อ “เซลล์”
Cell theory
:red_flag:
นำเสนอโดย Schwann and Schleiden และได้ถูกพัฒนาโดยนักวิทยาศาสตร์หลายท่าน เช่น Rudolf Virchow
ทฤษฎีเซลล์
:red_flag:
สิ่งมีชีวิตทุกชนิดประกอบด้วย
เซลล์หน่ึงเซลล์หรือมากกว่า
เซลล์เป็นหน่วยโครงสร้างการทำหน้าที่และการจัดระเบียบพื้นฐานในสิ่งมีชีวิตทุกชนิด
ทุกเซลล์
มาจากเซลล์ที่มีชีวิตอยู่ก่อน
Type of Cell
:red_flag:
Prokaryotic cell
หมายถึงเซลล์ที่ไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียสและไม่มีออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้ม
สำหรับสารพันธุกรรมจะ
พบอยู่บริเวณไซโทพลาสซึม เรียกว่า Nucleoid
สิ่งมีชีวิตที่มีเซลล์แบบนี้คือแบคทีเรียและสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน
Eukaryotic cell
หมายถึงเซลล์ที่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียสมีออร์แกเนลล์ทัง้ท่ีมีและไม่มีเยื่อหุ้ม
สิ่งมีชีวิตที่มีเซลล์แบบนี้คือ
โพรโทซัว สาหร่าย ฟังไจ พืช และสัตว์
Cell shape and size
:red_flag:
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตอาจจะมีรูปร่างและโครงสร้างที่แตกต่างกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับหน้าที่ ตำแหน่ง หรือรูปแบบการดำรงชีวิตของเซลล์
เซลล์ที่มีขนาดใหญ่ส่งผลให้มีพื้นที่ผิวในการแลกเปลี่ยนสารต่างๆ น้อยลงด้วย
เซลล์บางชนิดก็จำเป็นต้องมีขนาดใหญ่ เพื่อเสริมหน้าที่บางอย่าง เช่น ความแข็งแรง หรือความ ยืดหยุ่น เช่น เซลล์กล้ามเนือ้ เป็นต้น
Cell Structure and Function
:red_flag:
Cell wall
:red_flag:
หน้าที่
เพิ่มความแข็งแรงให้แก่เซลล์และทำให้เซลล์คงรูปร่าง
องค์ประกอบของผนังเซลล์ในพืชคือ
Cellulose
ชั้นของผนัง
Primary cell wall
อยู่ถัดจากมิดเดิลลาเมลลาเข้ามาด้านใน มี
Cellulose
Secondary cell wall
พบในเซลล์พืชบางชนิด ประกอยด้วย Cellulose และ Lignin
เซลล์บางชนิดอาจพบ Suberin
Middle lamella
เป็นผนังเซลล์ที่สร้างเป็นลำดับแรก
ประกอบด้วย Pectin เป็นหลัก
องค์ประกอบของผนังเซลล์ใน
สิ่งมีชีวิตอื่นๆ
ผนังเซลล์ใน Diatom = Silica(เพิ่มเติม)
ผนังเซลล์ในสาหร่ายสีแดง = Agar
ผนังเซลล์ใน Fungi = Chitin
ผนังเซลล์ในแบคทีเรียและสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน = Peptidoglycan
Glycocalyx
:red_flag:
พบในเซลล์สัตว์ ท าหน้าท่ีรับรู้ระหว่างเซลล์ข้างเคียง
กลโคคาลิกซเ์ป็นได้ทั้งGlycoprotein และ Glycolipid
Cell membrane
:red_flag:
ประกอบด้วย
Phospholipid
ส่วนหัว เป็นส่วนของ Phosphate group และ Glycerol
มีคุณสมบัติคือ มีขั้ว (ชอบน้ำ : Hydrophilic)
ส่วนหาง เป็นส่วนของ Fatty acid มีคุณสมบัติคือ ไม่มีขั้ว (ไม่ชอบน้ำ: Hydrophobic)
Protein
ระจายตัวแทรกอยู่ตามส่วนต่างๆ ของโมเลกุล phospholipid
หน้าที่
:red_flag:
ควบคุมการเข้าออกของสารระหว่างภายในเซลล์กับภายนอกเซลล์
ห่อหุ้มเซลล์และทำให้เซลล์คงรูปร่าง
Cell Structure and Function
:red_flag:
Non-membrane bounded organelle
:red_flag:
Centriole
Microtubule เรียงเป็นกลุ่ม 9 กลุ่ม แต่ละกลุ่มมีไมโครทิวบูล 3 อัน
ตรง กลางไม่มี
เขียนสูตรโครงสร้างได้ว่า 9+0
ทำหน้าที่ควบคุมการเคลื่อนไหว
สร้าง Spindle fiber
Cytoskeleton
:red_flag:
Microtubule
เกิดจากโปรตีน Tubulin
เป็นที่ยึดเกาะและเคลื่อนที่ของออร์แกเนลล์
เป็นองค์ประกอบของ Spindle fiber
เป็นโครงสร้างของ Cilia และ Flagellum (9+2)
เป็นที่ยึดเกาะและเคลื่อนที่ของ
ออร์แกเนลล์
โครงสร้างค้ำจุนเซลล์หรือโครงกระดูกของเซลล์
มีหน้าที่เกี่ยวกับการหดตัวของกล้ามเนื้อ
Intermediate filament
เสริมความแข็งแรงในเซลล์ผิวหนัง
ทำให้เกิดการสร้าง-สลาย
Nuclear membrane
ทำให้เกิดรูปร่างและค้ำจุนเซลล์
Microfilament
การเกิด Microvilli และให้เซลล์คงรูปร่าง
เกิดจากโปรตีน Actin2 สาย บิดพันเป็นเกลียว
มีหน้าที่เกี่ยวกับการหดตัวของกล้ามเนื้อ
Ribosome
มีทำหน้าที่สังเคราะห์โปรตีน
ไรโบโซมของเซลล์โปรคาริโอตมีขนาด 70 s
ประกอบด้วยหน่วยย่อย 50 s และ 30s
เซลล์ยูคาริโอตมีไรโบโซมขนาด 80s
ประกอบด้วยหน่วยย่อย 60 s และ 40s
ในไซโทพลาสซึมจะเกาะอยู่ที่ร่างแหเอนโดพลาสมิก
ประกอบด้วย ribosomal RNA และโปรตีน
Membrane
bounded organelle
:red_flag:
Single unit membrane
:red_flag:
Lysosome
มีหน้าที่เกี่ยวกับการย่อยสลายองค์ประกอบท่ีมาจากภายนอกเซลล
ย่อยสลาย Organelle ที่อายุมากหรือ
เซลล์ไม่ต้องการแล้ว
Lysosome แบ่งเป็น 3 ประเภท
Secondary lysosome
เกิดจากไลโซโซมปฐมภูมิรวมตัวกับแวคิวโอล
Residual body
ส่วนที่เหลือหลังจากการย่อย
Primary lysosome
เกิดมาจาก Golgi body
Peroxisome (Microbody)
คล้ายไลโซโซม แต่สามารถ แบ่งตัวได้เอง
พบมากในตับและไต
หน้าที่สำคัญ คือสร้างเอนไซม์ Catalase
Golgi complex
มีหน้าที่รับสารที่ RER
นำมาทำให้เข้มข้น
ลำเลียงออกนอกเซลล์
การสร้าง Enzyme
การสร้างเข็มพิษของไฮดร้าและ
กะพรุน
การสร้าง Acrosome ซึ่งอยู่ที่ส่วนหัวของสเปิร์ม
Vacuole
Food Vacuole
บรรจุอาหารที่รับเข้ามาจากภายนอกเซลล์
พบ ในเซลล์ของโพรทิสต์บางชนิดและเซลล์เม็ดเลือดขาว ของคน
Central Vacuole
รักษาสมดุลของน้ำภายในเซลล์ พบในเซลล์ของโพรทิสต์บางชนิด เช่น อะมีบา พารามีเซียม
Contractile Vacuole หรือ Sapvacuole
หน้าที่สะสมสารบางชนิดเช่น น้ำ น้ำตาล
Endoplasmic reticulum
Smooth endoplasmic reticulum (SER)
พบมากในเซลล์ที่มีหน้าที่กำจัด สารพิษ เช่น เซลล์ตับ
มีหน้าที่สังเคราะห์ Lipid
ไม่มีไรโบโซมเกาะที่เยื่อหุ้ม
ในเซลล์กล้ามเนื้อ SERมีหน้าที่พิเศษ คือสะสมและปลดปล่อย Ca2+
Rough endoplasmic reticulum (RER)
เป็นท่อลักษณะแบนขดไปมา มีไรโบโซมเกาะที่เยื่อหุ้ม
ทำหน้าที่สังเคราะห์ Proteinแล้ว
บรรจุใส่ Vesicle แล้วนำออกเซลล์
มีไรโบโซมเกาะที่เยื่อหุ้ม
Double unit membrane
:red_flag:
Mitochondria
มีเยื่อหุ้มสองชั้น
เป็นแหล่งพลังงานของเซลล์
พบเป็นจำนวนมากในเซลล์ที่ต้องการพลังงานสูง
Plastid
Chromoplast
เป็นพลาสติดที่มีรงควัตถุสีต่างๆ
พบที่ใบพืชที่มีอายุมาก เปลือกขอผลไม้กลีบดอก
Chloroplast
แหล่งเกิดปฏิกิริยาการสังเคราะห์ด้วยแสง
พบในใบไม้
Leucoplast
เป็นพลาสติดที่ไม่มีสี
พบในรากและ ลำต้น
Cell Structure and Function
:red_flag:
Nucleus
Chromatin
เป็นส่วนของนิวเคลียสที่ย้อมติดสี
พันกันเป็นร่างแห ประกอบไปด้วย DNA และ Histone protein
มีหน้าที่ควบคุมกิจกรรมต่างๆ ของเซลล์
ควบคุมการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต
Nuclear membrane (Nuclear envelop)
เป็นเยื่อเลือกผ่านเช่นเดียวกับเยื่อหุ้มเซลล์
Outer membrane เชื่อมรวมกับ RER
Nucleolus
มีลักษณะเป็นก้อนอนุภาคหนาทึบ และ ย้อมติดสีเข้มท่ีสุดของนิวเคลียส
ประกอบด้วยสารประเภท DNA, RNA และโปรตีนชนิด
Phosphoprotein
มีหน้าท่ีในการสังเคราะห์ RNA ชนิดต่างๆ
ส่วนห่อหุ้มเซลล์เป็นโครงสร้างที่ห่อหุ้ม โพรโทพลาสซึมให้คงรูปร่างและแสดง ขอบเขตของเซลล์
เรียกอีกชื่อว่า Plasma membrane
เป็นโครงสร้างที่พบในสิ่งมีชีวิตทุกชนิด ยกเว้นไวรัส
Phospholipid จะมีการเรียงตัว 2 ชั้นโดยหันส่วนหางเข้า
หากัน