Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลมารดาที่ได้รับการชวยเหลือสูติศาสตร์หัตถการ(เครื่องดูดสุญญากาศ),…
การพยาบาลมารดาที่ได้รับการชวยเหลือสูติศาสตร์หัตถการ(เครื่องดูดสุญญากาศ)
ส่วนประกอบ
Vacumm cup
มีแผ่นโลหะ (Mental plate) และโซ๋โลหะ (Chain)
Traction bar หรือ Handle
Suction tube
เครื่องดูดสุญญากาศ
ข้อบ่งชี้
ทารกในครรภ์อยู่ในภาวะ Mild fetal asphyxia ซึ่งเกิดจาก Fetal distress
Mild CPD
โรคแทรกซ้อน เช่น ความดันโลหิตสูง, โรคหัวใจ
ศีรษะทารกไม่หมุนตามกลไกการคลอดปกติ
Uterine inertia โดยมีปัญหามดลูกหดรัดตัวไม่ดีเนื่องจากอ่อนเพลียหรือเกิด
ความล่าช้าในระยะที่ 2 ของการคลอด
ข้อห้าม
ทารกในครรภ์เสียชีวิตแล้ว
ทารกคลอดก่อนกำหนด
ทารกในครรภ์อยู่ในภาวะวิกฤติที่ต้องช่วยให้คลอดโดยด่วน
มีการพลัดต่ำของสายสะดือ
ทารกในครรภ์อยู่ในท่าผิดปกติ
ทารกอยู่ในภาวะ Fetal distress โดยที่ปากมดลูกยังไม่เปิด
CPD
สภาวะที่เหมาะสมในการทำคลอดโดยใช้เครื่องดูดสุญญากาศ
ไม่พบปัญหาผิดสัดส่วนกันระหว่างศีรษะทารกกับช่องเชิงกรานของผู้คลอด
ศีรษะในครรภ์ต้อง Deep engaged แล้ว
กระเพาะปัสสาวะและทวาหนักต้องว่าง
ส่วนนำอยู่ในสภาวะที่เหมาะสมสามารถคลอดทางช่องคลอดได้
ถุงน้ำคร่ำแตกแล้ว
ปากมดลูกเปิดหมด และปากมดลูกมีความบางเต็มที่
ทารกในครรภ์ยังมีชีวิตอยู่
ขั้นตอนในการทำคลอดโดยใช้เครื่องดูดสุญญากาศ
แพทย์ใช้ยาชาเฉพาะที่คือทำ Pudendal neve block โดยใช้ 1% Xylocain
แพทย์เลือก Cupที่มีขนาดเหมาะสมกับศีรษะทารก
แพทย์ผู้ทำประเมินสภาพช่องเชิงกรานผู้คลอดโดยการตรวจภายใน
เริ่มต้นดูดด้วยแรง 0.20 Kg/cm 2 ก่อน แพทย์จะใช้นิ้วประเมินรอบๆ cup ว่าไม่มีผนังของช่องคลอดเข้าไปติดใน cup
สวนปัสสาวะให้ผู้คลอด
การดึงโดยใช้มือขวาดึง Handle มือซ้ายแตะ Cup ที่ติดกับศีรษะทารก การดึง
ให้ดึงพร้อมๆกับที่มดลูกหดรัดตัวและให้ผู้คลอดช่วยเบ่ง
ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์
ภาวะแทรกซ้อน
ด้านมารดา
กระทบกระเทือนต่อกระเพาะปัสสาวะ
ช็อคจากความเจ็บปวด ผู้คลอดไม่ทำด้วยความนุ่มนวล
อันตรายต่อกระดูกเชิงกราน เช่น Symphysis pubis แยก
ใช้เครื่องมือไม่ถูกต้องเกิดการตกเลือด
มีการฉีกขาดของหนทางคลอด
ติดเชื้อ
อันตรายจากการแพ้ยาระงับความรู้สึก
ด้านทารก
แรงกดที่ศีรษะเกิด Asphyxia
แรงดูดกระทบกระเทือนต่อกระโหลกศีรษะ สมองและหนังศีรษะทารกใน
ครรภ์
อาจจะมีเลือดอกที่จอตาแต่จะหายได้ภายใน 1 สัปดาห์
แรงดูดกระทบกระเทือนต่อ Facial nerve จะทำให้เกิด Facial Palsy
อาจจะเกิด Cephal hematoma
หูหนวกกระทบกระเทือนต่อ Auditory Organ
ปอดบวม (Pneumonia) และถุงลมแฟบ (Atelectasis)
การพยาบาล
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางหน้าท้อง
ตรวจช่องทางคลอด
การตรวจร่างกายทั่วไปและสัญญาณชีพ
การประเมินสภาพทารกในครรภ์
ภาวะจิตสังคม
การประเมินความวิตกกังวลและหวาดกลัวของผู้คลอด
การซักประวัติ
ประวัติเกี่ยวกับอาการผิดปกติในการตั้งครรภ์
การ
คลอดครั้งก่อน
การตรวจพิเศษและการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Ultrasound
การตรวจความเข้มข้นของเลือดมารดา
การตรวจปัสสาวะเพื่อหา albumin และ sugar
นางสาวสุกัญญา พลเยี่ยม รหัสนักศึกษา602701104 นักศึกษาพยาบาลศาสตรบัรฑิตชั้นปีที่3 รุ่นที่35