Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง - Coggle Diagram
อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง
ผู้แต่ง
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
จุดหมาย
เพื่อใช้ในการแสดงละครใน
ความเป็นมา
อิเหนา เป็นวรรณคดีที่มีมาแต่เมื่อครั้งกรุงศรีอยุธยา เป็นราชธานี มีที่มาจากนิทานปันหยี ซึ่งเป็นค าสามัญที่ชาวชวาใช้เรียก วรรณคดีที่มีความส าคัญมากเรื่องหนึ่งคือ เรื่องอิหนา ปันหยี กรัตปาตี วรรณคดีเรื่องนี้มีเนื้อเรื่องเป็นพงศาวดารแต่งขึ้นเพื่อการ เฉลิมพระเกียรติกษัตริย์ชวาพระองค์หนึ่งซึ่งทรงเป็นนักรบ นักปกครอง และทรงสร้างความเจริญให้แก่ชวาเป็นอย่างมากชาวชวา ถือว่าอิหนาเป็นวีรบุรุษ เป็นผู้มีฤทธิ์ เรื่องที่เล่าสืบต่อกันมา จนกลายเป็นนิทานจึงเต็มไปด้วยอิทธิปาฏิหาริย์
ลักษณะคําประพันธ์
กลอนบทละคร
ความสุนทรียของงานประพันธ์
ตัวละครสําคัญ
ท้าวกุเรปัน
ท้าวดาหา
อิเหนา
บุษบา
สังคามาระตาสังคามาระตา
ระตูปาหยัง
องค์ปะตาระกาหลา
วิหยาสะก้า
จินตะหราวาตี
ท้าวกะหมังกุหนิง
ระตูปาหยัง
ระตูประหมัน
สังคามาระตา
มาหยารัศมี
สะการะวาตี
สุหรานากง
ระตูหมันหยา
ท้าวกาหลัง
ประสันตา
วิเคราะห์บทประพันธ์ที่สําคัญ
คุณค่าด้านต่างๆ
คุณค่าในด้านเนื้อเรื่อง
บทละครเรื่องอิเหนา มีโครงเรื่องและเนื้อเรื่องที่สนุก โครงเรื่องส าคัญเป็นเรื่องการชิงบุษบาระหว่างอิเหนากับ จรกา เรื่องความรักระหว่างอิเหนากับบุษบา เนื้อเรื่อง ส าคัญก็คือ อิเหนาไปหลงรักจินตะหรา ทั้งที่มีคู่หมั้นอยู่ แล้วซึ่งก็คือบุษบา ท าให้เกิดปมปัญหาต่างๆ
ด้านสังคม
คุณค่าในด้านวรรณศิลป์
ความเหมาะสมของเนื้อเรื่องและรูปแบบ บทละครอิเหนาเป็น บทละครใน มีเนื้อเรื่องเกี่ยวกับกษัตริย์ กลวิธีการด าเนินเรื่องจึงยึดรูป แบบอย่างเคร่งครัด อากัปกิริยาของตัวละครต้องมีสง่า มีลีลางดงามตาม แบบแผนของละครใน โดยเฉพาะการแสดงศิลปะการร่ายร าจะต้องมี ความงดงาม ภาษาที่ใช้เหมาะสมกับตัวละคร จะใช้ถ้อยค าไพเราะ แสดงออกถึงอารมณ์ของตัวละคร ไม่ว่าจะเป็นความอาลัยอาวรณ์ ความ โกรธ ความรัก การประชดประชัน กระบวนกลอนตลอดจนเพลงขับร้อง และเพลงหน้าพาทย์มีความไพเราะอย่างยิ่ง ซึ่งถือว่าเป็นบทละครในที่ เพียบพร้อมด้วยรูปแบบของการละครอย่างครบถ้วน
การบรรยายและการพรรณนามีความละเอียด ชัดเจน ท าให้เกิดจินตภาพ ไม่ว่าจะเป็นฉาก เหตุการณ์ สภาพบ้านเมือง ภูมิประเทศ รวมทั้งอารมณ์และ ความรู้สึกของตัวละคร ผู้อ่านเกิดความรู้สึกและความเกิด ความเข้าใจในบทละครเป็นอย่างดี เนื่องจากการใช้โวหาร เรียบเรียงอย่างประณีต เรียบง่าย และชัดเจน
การเลือกใช้ถ้อยค าดีเด่นและไพเราะกินใจ การใช้ถ้อยค าง่าย แสดงความหมายลึกซึ้ง กระบวนกลอน มีความไพเราะ เข้ากับบทบาทของตัวละคร โดยใช้กลวิธี ต่างๆ ในการแต่ง
การใช้ถ้อยค าให้เกิดเสียงเสนาะ ค าสัมผัส ในบทกลอนท าให้เกิดเสียงเสนาะ มีทั้งสัมผัสสระและ สัมผัสอักษร ท าให้กลอนเกิดความไพเราะ
ข้อคิดที่ได้รับ
1.การเอาแต่ใจตนเอง อยากได้อะไรเป็นต้อง ได้ จากในวรรณคดีเรื่องอิเหนานั้น เราได้ข้อคิดเกี่ยวกับการ เอาแต่ใจตนเอง อยากได้อะไรเป็นต้องได้ ไม่รู้จักระงับ ความอยากของตน หรือพอใจในสิ่งที่ตนมีแล้ว ซึ่งการ กระท าเช่นนี้ท าให้เกิดปัญหามากมายตามมา
การใช้อารมณ์ ในชีวิตของมนุษย์ทุกคนนั้น ย่อมต้องประสบ พบกับเรื่องที่ท าให้เราโมโห หรือท าให้อารมณ์ไม่ดี ซึ่งเมื่อเป็นดังนั้น เราควรจะต้องรู้จักควบคุมตนเอง เพราะเมื่อเวลาเราโมโห เราจะขาด สติยั้งคิด เราอาจท าอะไรตามใจตัวเองซึ่งอาจผิดพลาด และพลอยท าให้ เกิดปัญหาตามมาอีก
3.การใช้กําลังในการแก้ปัญหา โดยปกติแล้ว เวลาที่เรามี ปัญหาเราควรจะใช้เหตุผลในการแก้การปัญหานั้น ซึ่งถ้าเราใช้ก าลังใน การแก้ปัญหา นั้นเป็นการ กระทําที่ไม่ถูกต้อง
การไม่รู้จักประมาณตนเอง ใช้ชีวิตไปกับสิ่งที่คู่ควรกับตนเอง พอใจในสิ่งที่ตนมี เราควรเอาใจเขามาใส่ใจเรา ค านึงถึงความรู้สึกของคนอื่น ด้วย ถ้าเรารู้จักประมาณตนเองก็จะท าให้เราสามารถใช้ชีวิตได้อย่างมี ความสุข ซึ่งถ้าเราไม่รู้จักประมาณตนเอง ก็อาจท าให้เราไม่มีความสุข เพราะ ไม่เคยสมหวังในชีวิต เช่นกับ จรกาที่เกิดมารูปชั่ว ตัวด า อัปลักษณ์ หน้าตา น่าเกลียด จรกานั้นไม่รู้จักประมาณตนเอง ใฝ่สูง อยากได้คู่ครองที่สวยโสภา ซึ่งก็คือบุษบา เมื่อจรกามาขอบุษบา ก็ไม่ได้มีใครที่เห็นดีด้วยเลย
การทําอะไรโดยไม่ยั้งคิด หรือค านึงถึงผลที่จะตามมา การ จะทําอะไรลงไป เราควรจะคิดทบทวนหรือ ชั่งใจเสียก่อนว่าเป็นการกระท าที่ ถูกต้องหรือไม่ทําแล้วเกิดผลอะไรบ้าง แล้วผลที่เกิดขึ้นนั้นก่อความ เดือดร้อนให้ผู้อื่นหรือไม่ เราจะเห็นตัวอย่างได้จากเรื่องอิเหนาในตอนที่ อิเหนาได้ไปร่วมพิธีศพของพระอัยกีแทนพระมารดาที่เมืองหมันหยา หลังจากที่อิเหนาได้พบกับจินตะหราวาตี
ความรู้เสริม