Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง - Coggle Diagram
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง
จุดมุ่งหมาย
เพื่อใช้ในการแสดงละครใน
วิเคราะห์บทประพันธ์ที่สำคัญ
ความสุนทรีย์ของงานประพันธ์
ความเป็นมา
อิเหนา เป็นวรรณคดีที่มีมาแต่เมื่อครั้งกรุงศรีอยุธยา
เป็นราชธานี มีที่มาจากนิทานปันหยี ซึ่งเป็นค าสามัญที่ชาวชวาใช้เรียก
วรรณคดีที่มีความส าคัญมากเรื่องหนึ่งคือ เรื่องอิหนา ปันหยี
กรัตปาตี วรรณคดีเรื่องนี้มีเนื้อเรื่องเป็นพงศาวดารแต่งขึ้นเพื่อการ
เฉลิมพระเกียรติกษัตริย์ชวาพระองค์หนึ่งซึ่งทรงเป็นนักรบ
นักปกครอง และทรงสร้างความเจริญให้แก่ชวาเป็นอย่างมากชาวชวา
ถือว่าอิหนาเป็นวีรบุรุษ เป็นผู้มีฤทธิ์ เรื่องที่เล่าสืบต่อกันมา
จนกลายเป็นนิทานจึงเต็มไปด้วยอิทธิปาฏิหาริย์
ผู้แต่ง
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
คุณค่า
คุณค่าด้านเนื้อหา
บทละครเรื่องอิเหนา มีโครงเรื่องและเนื้อเรื่องที่สนุก
โครงเรื่องส าคัญเป็นเรื่องการชิงบุษบาระหว่างอิเหนากับ
จรกา เรื่องความรักระหว่างอิเหนากับบุษบา เนื้อเรื่อง
ส าคัญก็คือ อิเหนาไปหลงรักจินตะหรา ทั้งที่มีคู่หมั้นอยู่
แล้วซึ่งก็คือบุษบา ท าให้เกิดปมปัญหาต่างๆ
คุณค่าในด้านวรรณศิลป์
ตัวละครสำคัญ
ข้อคิด
๑. แทรกความรู้ วัฒนธรรมประเพณีไทย
๒. มีลักษณะกรจัดกลอนบทละคร ท่าร า การใช้แสดงละครร าได้ดี
๓. ความลุ่มหลงในความรักอย่างขาดสติย่อมน ามาสู่หายนะ
๔. ใช้ส านวนโวหาร กวีโวหาร ภาพพจน์ที่คมคาย
๕. ถ่ายทอดเนื้อความได้อย่างลึกซึ้งกินใจ
ลักษณะคำประพันธ์
กลอนบทละคร