Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยโรคจิตเภท (Nursing Care for Person with Schizophrenia) -…
การพยาบาลผู้ป่วยโรคจิตเภท
(Nursing Care for Person with Schizophrenia)
Diagnostic and Statistical Manual of Mental
Disorders Fifth Edition (DSM-5)
Delusional disorder
Schizotypal personality disorder
Brief psychotic disorder
Schizophreniform disorder
Schizoaffective disorder substance/medication-
induced psychotic disorder
Psychotic disorder due to another medical
condition
Other specified schizophrenia spectrum and
other psychotic disorder
Unspecified schizophrenia spectrum and other
psychotic disorder
อาการหลงผิด (Delusion)
Erotomanic delusions หลงผิดที่เชื่อว่ามีผู้อื่นมาหลงรักตนเอง
Grandiose delusions อาการหลงผิดที่เชื่อว่าตนเองมีความสามารถเหนือกว่าผู้อื่นอย่างมาก หรือเป็นคนสำคัญและมีชื่อเสียงอย่างมาก
Referential delusionsอาการหลงผิดที่เชื่อว่า ท่าทาง คำพูดของบุคคลอื่น หรือสภาพแวดล้อมต่าง ๆ นั้นมีความหมายสื่อถึงตนเอง
Persecutory delusions พบบ่อยที่สุดอาการหลงผิดที่เชื่อว่าตนเองนั้นจะโดนปองร้ายทำให้อับอาย หรือกลั่นแกล้งจากบุคคลอื่น ๆ
Nihilistic delusions เชื่อว่ามีสิ่งเลวร้ายหรือหายนะนั้นได้เกิดขึ้นกับตัวเอง หรือจะต้องเกิดขึ้นกับตัวเอง
Jealousy delusions อาการหลงผิดที่เชื่อว่าคู่ครองนอกใจ
Somatic delusions อาการหลงผิดที่มีเนื้อหาเจาะจงกับอาการทางร่างกายหรืออวัยวะใดๆ
Thought withdrawal หลงผิดที่เชื่อว่าความคิดของตนเองนั้นถูกทำให้หายไปโดยพลังอำนาจบางอย่าง
Thought insertion อาการหลงผิดที่เชื่อว่ามีพลังอำนาจบางอย่างใส่ความคิดที่ไม่ใช่ของตนเองเข้ามา
Thought Controlled อาการหลงผิดที่เชื่อว่าพลังอำนาจบางอย่างควบคุมความคิด และบงการให้ตนเคลื่อนไหวหรือคิดตามนั้น
อาการประสาทหลอน (Hallucination)
มีการรับรู้ทางระบบประสาทใด ๆ ซึ่งเกิดขึ้น
โดยไม่มีสิ่งเร้า (external Stimuli)
กลุ่มโรคจิตเภทนั้นจะพบอาการหลอนเป็นหูแว่ว (auditory hallucination) บ่อยที่สุด
ระบาดวิทยา
ร้อยละ 0.5-1.2 ของ ประชากรทั้งหมด
อายุเฉลี่ยที่เริ่มมีอาการคือ ชาย 18ปี หญิง 25ปี
ร้อยละ80 มีอาการหลัง 10ปี และก่อนอาย 45ปี ถ้าเข้าเกณฑ์หลัง45-50ปีแพทย์ควรวินิจฉัยแยก ออกจากสาเหตุทางกายอื่น ๆ
ผลกระทบต่อประชากรวัยผู้ใหญ่ทั่วโลกประมาณ 1 ใน 1,000 คน
กระบวนความคิดและภาษาที่ยุ่งเหยิงไม่เป็นระเบียบ (Disorganized thinking/speech)ผู้ตรวจจะสังเกตได้จากคำพูด (speech) ระหว่างการสัมภาษณ์
พฤติกรรมการเคลื่อนไหวที่ผิดปกติหรือยุ่งเหยิงไม่เป็นระเบียบ (Grossly disorganized or abnormal motor behavior)
อาการด้านลบ (Negative symptoms)
การแสดงอารมณ์ที่ลดลง (Decreased emotional expression)
แรงกระตุ้นภายในที่ลดลง (Avolition/Amotivation)
ปริมาณการพูดที่ลดลง (Alogia)
การมีความสุขจากกิจกรรมต่าง ๆ ที่เคยชอบหรือสนใจลดลง (Anhedonia)
การเข้าสังคมที่ลดลง (Asociality)
สาเหตุ
ความผิดปกติระดับโครงสร้างของสมอง
ความผิดปกติระดับจุลภาคและระดับการทำงานของสารสื่อประสาท
ปัจจัยทางพันธุกรรมก็มีส่วนในการทำให้เกิดโรค
ปัจจัยที่เกิดขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ (perinatal factors)
ความบกพร่องของประสาทพุทธิปัญญา (neurocognitive impairment)
ปัจจัยกระตุ้นและความสัมพันธ์ที่ใช้อารมณ์รุนแรง (expressed emotion)
การวินิจฉัยแยกโรค
Schizophrenia ต้องเข้าเกณฑ์ของโรคจิตเภท major ,major depressive episode หรือ manic episodeต่อเนื่องนานกว่า 6
เดือน อารมณ์เกิดขึ้นเพียงส่วนน้อยรองระยะเวลาการเจ็บป่วยทั้งหมด
with Schizoaffective disorderต้องเข้าเกณฑ์Aของโรคจิตเภท major depressive episode อย่างน้อย 2 สัปดาห์ อาการโรคจิตคงอยู่โดย ไม่มีอาการทางอารมณ์
Mood disorders with psychotic features ต้องเข้าเกณฑ์A ไม่เข้าเกณฑ์ข้อ C ของโรคจิตเภท major depressive episode อาการโรคจิตต้องมีความสัมพันธ์กับอาการทางอารมณ์ อารมณ์ เป็นอาการหลัก
การรักษา
จิตบำบัดด้วยวิธี Cognitive Behavior Therapy
Supportive Psychotherapy
Psychosocial treatment ประกอบด้วยcase management, self-management education, problem solving therapy, cognitive behavior therapy, family interventions, Social skills training, arts therapies,การบำบัดรูปแบบอื่นๆ
หลักการและแนวทางการบำบัด
การพัฒนาระบบคุณภาพการดูแลผู้ป่วยจิตเภททุกระยะ
การส่งเสริมการฟื้นฟูสภาพ
การรักษาในระยะเฉียบพลัน
การให้ความช่วยเหลือและรีบรักษาในระยะแรกเริ่ม
ใช้การรักษาด้วยยาต้านโรคจิต (antipsychotics) เป็นหลัก
5 ขั้นตอนในการบำบัด
1 การประเมินสภาพปัญหา
2 การวินิจฉัยทางการพยาบาล
3 การวางแผนการพยาบาล
4 การปฏิบัติการพยาบาล
5 การประเมินผลการพยาบาล