Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคผิวหนังที่พบบ่อย และกลุ่มอาการไข้ มีผื่น, เกลื้อน, measles-001,…
โรคผิวหนังที่พบบ่อย และกลุ่มอาการไข้ มีผื่น
Dermatophytosis or Ringworm(โรคกลาก)
สาเหตุ
เชื้อรา genus Dermatophyte
Trichophyton
Microsporum
Epidermophyton
ลักษณะทางคลินิก
ผื่นราบ (macule) ที่มีอาการคัน
วงรีมีขอบเขตชัดเจน ตรงกลาง หาย (central healing)
ตรงขอบมีตุ่มแดงหรือตุ่มใส ร่วมกับขุย(active border)
มีรูปร่างเป็นวงกลม วงแหวน (annular lesion) หรือหลายวงมารวมกัน
การักษา
ยาทาภายนอก Azole creams (Ketoconazole, Clotrimazole) หรือ Keratolytic agent
ยารับประทาน ควรใช้ในกรณี ต่อไปนี้
โรคเชื้อราที่เป็นบริเวณกว้างหรือเรื้อรัง
โรคเชื้อราที่หนังศีรษะ
Griseofulvin500 mg
Itraconazole 100 mg 1
โรคเชื้อราที่เล็บ
Contact dermatitis และ Atopic dermatitis
สาเหตุ ของ Contact Dermatitis
Allergic contact dermatitis
Irritant contact dermatitis
Atopic dermatitis(AD)
เป็นโรคผิวหนังที่เกิดร่วมกับ กลุ่มอาการ atopy ประกอบด้วย หอบหืด ภูมิแพ้
ส่วนใหญ่จะเป็นในเด็ก
Pityriasis versicolor or Tinea versicolor(โรคเกลื้อน )
เกิดจากหรือเกิดเพราะถูกกกระตุ้นโดยเชื้อราMalassesia
Pityriasis versicolor
Malassezia folliculitis
Seborrhoeic dermatiti, Dandruff
การวินิจฉัย
Besnier's sign (Scratch sign, coup d'ongle sign, stroke of the nail)
ใช้เล็บหรือปากกาขูดเบาๆที่รอย โรคจะเป็นขุยละเอียดสีขาว
การรักษา
ยาทาภายนอก Azole creams
ยารับประทาน Ketoconazole 200 mg
Seborrheic dermatitis
เป็น papulosquamous disorder ที่บริเวณ sebumrich areas ของหนังศีรษะ หน้า ลำตัว
มักกระตุ้นให้เกิดโดยการเปลี่ยนแปลงความชื้นในอากาศการเปลี่ยนฤดู การถูกขีดข่วน หรือความเครียด
สาเหตุ
Epidermis ของหนังศีรษะมีการ แบ่งตัวเพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็วเกิด keratinization โดยไม่สมบูรณ์
การเพิ่มจำนวนของเชื้อรา Pityrosporon ovale
Measles (โรคหัด)
เกิดจากเชื้อไวรัส measles ซึ่งอยู่ในตระกูล paramyxOvirus เป็น enveloped RNA virus
ติดต่อทางการหายใจโดยละอองฝอย (aerosols) หรือการสัมผัสกับสารคัดหลังโดยตรง (direct contact)
อายุที่พบบ่อยคือ 1-6 ปีในประเทศไทยเริ่มให้วัคซีนป้องกันหัดเมื่อ พ.ศ. 2527
ระยะฟักตัว 10-12 วัน
คนที่เคยติดเชื้อมาแล้วจะมีภูมิคุ้มกันไปตลอดชีวิตและโรคนี้วัคซีนป้องกันมีประสิทธิภาพสูงเกือบ 100%
อาการและอาการแสดง
ไข้ (fever)
อุณหภูมิจะค่อยๆ เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ในวันที่ 4-6ร่วมกับมีผื่นขึ้น
บางครั้งไข้อาจมี 2ระยะ
ไข้จะลดลงภายใน 2-3วัน หลังออกผื่น
มีไข้เฉียบพลัน ร่วมกับอาการ “3C”
cough (ไอ)
coryza (นํ้ามูกไหลเป็นหวัด)
conjunctivitis(ตาแดง)
เป็น prodromal symptomsประมาณ 3วัน
Koplik spots
spotsจุดขาวๆ เล็กๆ เหมือนเกลือป่น มีขอบสีแดง อยู่ภายในกระพุ้งแก้ม ส่วนบริเวณติดฟันกราม
ผื่น (rash)มีผื่นแดงลักษณะ maculopapular rash
เริ่มขึ้นในวันที่ 3-4หลังมีไข้
ผู้ป่วยจะมีตัวลายซึ่งจะหายไปในเวลา 7-10วัน
ภาวะแทรกซ้อน
หูชั้นกลางอักเสบ (otitis media)
ปอดอักเสบ (pneumonia)
กล่องเสียงและหลอดลมอักเสบ(laryngotracheobronchitis)
ท้องเสีย (diarrhea)
สมองอักเสบ (acute encephalitis)
measles ในผู้ที่ตั้งครรภ์อาจมีภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นบ่อยกว่าได้
อาจทำให้เกิด abortion หรือ premature birth ได้
ไม่พบว่าการที่มารดาเป็น measles ระหว่างตั้งครรภ์จะเพิ่มโอกาส
การเกิดความพิการแต่กำเนิด (congenital anomalies)ในทารก
สามารถติดเชื้อจากแม่สู่ลูกได้
ทำให้เกิดภาวะหัดแต่กำเนิด (congenital measles)
การวินิจฉัย
ได้จากอาการ และอาการแสดงร่วมกับประวัติการไม่ได้รับวัคซีนป้องกันโรคหัดหรืออยู่ในแหล่งที่กำลังมีการระบาดของโรคหัด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการที่สามารถช่วยยืนยันการวินิจฉัยมี 3วิธี
การตรวจทาง serology โดย measles IgM
การตรวจทาง serologyโดย paired serum measles IgG
การตรวจหารสารพันธุกรรม RNA ของเชื้อ
คำแนะนำ ให้ส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ เพื่อยืนยันการวินิจฉัยโรคหัดเสมอ (C1, ++)
การรักษา
การรักษาตามอาการ
การรักษาประคับประคอง
ไม่มียาต้านไวรัสหัดที่จำเพาะและได้ผล
การให้ vitamin Aแก่เด็กที่เป็นหัด พบว่าช่วยลดอัตราการเสียชีวิตและความรุนแรงได้โดยเฉพาะในเด็กอายุน้อยกว่า 2ปี
การรักษาด้วยยาปฏิชีวนะ ได้แก่ amoxicillinขนาดสูง 80-90 มก./กก./วัน
Rubella (หัดเยอรมัน)
เกิดจากเชื้อ Rubella Rubellavirus
ระยะฟักตัวโรค ประมาณ14-21วัน เฉลี่ย16-18วัน
ติดต่อโดยการสัมผัสโดยตรงเชื้อที่อยู่ในลำคอของผู้ป่วยผ่านออกมาทางการไอจาม เข้าสู่ทางระบบการหายใจ
ถ้าเป็นในหญิงมีครรภ์จะทำให้ลูกคลอดออกมามีความพิการได้ตั้งแต่ร้อยละ25-40ทั้งนี้แล้วแต่ระยะของการตั้งครรภ์
ผู้ป่วยที่ติดเชื้อทั่วไป แยกจนครบ 7วันหลังผื่นขึ้น
โรคหัดเยอรมันสามารถป้องกันได้ด้วยการฉีดวัคซีน
อาการและอาการแสดง
ในเด็กโต
ต่อมนํ้าเหลืองที่หลังหู ท้ายทอยและด้านหลังของลำคอโต และเจ็บเล็กน้อย
รู้สึกไม่สบาย ปวดหัว ไข้ตํ่าๆมีอาการคล้ายเป็นหวัด
เจ็บคอร่วมด้วย 1-5วัน
ประมาณวันที่สามผื่นจะขึ้นเป็นสีชมพูจางๆ กระจายอยู่ห่างๆ เป็นแบบ Ma cular cularrashrash
เริ่มขึ้นที่หน้าแล้วลามไปทั่วตัวอย่างรวดเร็วภายใน 24 ชั่วโมง(cephalopattern)
ผื่นเห็นชัดเจนบริเวณแขนขา และจะหายไปในเวลา1-2วัน และสีผิวหนังจะกลับเป็นปกติ
เด็กบางรายอาจมีอาการปวดข้อหรือข้ออักเสบร่วมด้วย โดยเฉพาะในผู้หญิง
ทารกที่ติดเชื้อตั้งแต่ในครรภ์ (Congenital Rubella Syndrome: CRS)
คลอดออกมามีความพิการจะมีอาการแตกต่างกันแล้วแต่ระยะที่แม่ติดเชื้อ
ารกที่ติดเชื้อหัดเยอรมันแต่กำเนิดมักมีการเจริญเติบโตช้าตั้งแต่อยู่ในครรภ์ (intrauterine growth restriction : IUGR)
ตับ ม้าม โตร้อยละ 68
เกล็ดเลือดตํ่า ร้อยละ 76
ความพิการที่พบได้บ่อย คือ ความพิการทางตา ความพิการที่หัวใจ หูหนวก ความผิดปกติทางสมอง ศีรษะและสมองเล็ก แรกเกิดจะพบมีตับม้ามโต
การวินิจฉัย
อาการและอาการแสดงข้างต้น
การตรวจหาระดับภูมิคุ้มกันในเลือด ต่อโรคหัดเยอรมัน
rubella IgGนั้นต้องเก็บเลือด 2 ครั้ง เพื่อดูว่ามีไตเตอร์ขึ้นอย่างน้อย 4เท่า
การรักษา
การรักษาตามอาการ
การรักษาประคับประคอง
ไม่มีการรักษาจำเพาะ
นางสาวทิพย์สุดา สนิทพจน์ รหัสนักศึกษา 601410067-1