Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลมารดาที่ได้รับการชวยเหลือสูติศาสตร์หัตถการ (forcep extraction),…
การพยาบาลมารดาที่ได้รับการชวยเหลือสูติศาสตร์หัตถการ (forcep extraction)
ประเภทของคีม
Long Curve Axis Traction Forcep
ใช้ในกรณีศีรษะทารกอยู่ค่อนข้างสูง
Kielland Forceps
ใช้การหมุนของศีรษะทารกภายในอุ้งเชิงกราน
ช่วยแก้ปัญหา Deep transverse arrest of head
Short Curve Forcep
ใช้ในกรณีศีรษะทารกมาอยู่ต่ำบริเวณฝีเย็บ
ผู้ทำคลอดใช้แรงดึงน้อย และเกิดอันตรายน้อย
ข้อบ่งชี้
ข้อบ่งชี้ด้านแม่
ส่วนนำของทารกค่อนข้างใหญ่
ผู้คลอดมีภาวะความดันโลหิตสูงระหว่างตั้งครรภ์
กระดูกเชิงกรานค่อนข้างแคบ
ผู้คลอดอ่อนเพลียมีสุขภาพไม่ดีจากโรคเรื้อรัง เช่น โรคหัวใจ,ไทรอยด์
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี/มารดาไม่มีแรงเบ่ง
มีปัญหาเลือดออกในสมอง หรือไส้ติ่งอักเสบ
ข้อบ่งชี้ด้านทารก
Fetal distress
สายสะดือพลัดต่ำ
ทำเพื่อการรักษาและการป้องกันทำระยะเบ่ง
ป้องกันการฉีกขาดหรือยืดขยายมากเกินไปของฝีเย็บ
จำกัดปริมาณการเสียเลือดจากการคลอด
ช่วยลดความกดดันทางร่างกายและอารมณ์
ป้องกันสมองถูกทำลายจากภาวะพร่องออกซิเจน
หน้าที่ของคีม
Extractor (ตัวดึง)
ใช้ในผู้คลอดที่ไม่มีแรงเบ่งพอหรือไม่ต้องการให้ผู้คลอดออกแรง
เบ่งในท่าศีรษะเป็นส่วนนำโดยใช้ Simson forcep
กรณีท่าก้นจะใช้คีมทำคลอด
ศีรษะโดยใช้ Piper forceps
Rotation (ตัวหมุน)
ใช้ในกรณี Deep transverse arrest of head โดยใช้ Kielland Forceps
ชนิดของการทำคลอดด้วยคีม
การทำคลอดด้วยคีมเมื่อศีรษะมี engagement ทำการช่วยเหลือโดยการหมุนก่อนเมื่อเริ่มดึงถือว่าเป็น Mid Forceps
Low Forceps
การทำคลอดด้วยคีมเมื่อเห็นหนังศีรษะที่บริเวณอวัยวะสืบพันธุ์โดยไม่ต้องแยก Labia และกะโหลกศีรษะอยู่บน Pelvic floor รอยต่อแสกกลางอยู่ในแนวหน้าหลัง
สภาวะที่เหมาะสมในการทำคลอดด้วยคีม
ไม่พบภาวะผิดสัดส่วนระหว่างส่วนนำกับช่องเชิงกราน
กระเพาะปัสสาวะและทวารหนักต้องว่าง
ศีรษะทารกต้อง Deep engaged แล้ว
ถุงน้ำคร่ำแตกแล้ว
ส่วนนำมีสภาวะที่เหมาะสมสามารถคลอดทางช่องคลอดได้
ทารกในครรภ์ยังมีชีวิตอยู่
ปากมดลูกเปิดหมด
การพยาบาล
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางช่องคลอดเพื่อประเมินลักาณะปากมดลูก
การตรวจร่างกายทั่วไปและสัญญาณชีพ
การตรวจทางกน้าท้อง ประเมินท่า ขนาดและการหดรัดตัวของมดลูก
การประเมินสภาพทารกในครรภ์ เช่น การฟังเสียงหัวใจทารก
ภาวะจิตสังคม
การประเมินความวิตกกังวลและความหวาดกลัวของผู้คลอด
การซักประวัติ
ประวัติการตั้งครรภืและการคลอดครั้งก่อน เช่น การคลอดติดขัด
ภาวะแทรกซ้อน
ต่อมารดา
อันตรายต่อกระดูกเชิงกราน เช่น Symphysis pubis แยก
กระทบกระเทือนต่อกระเพาะปัสสาวะ
มีการฉีกขาดของหนทางคลอด
ช็อคจากความเจ็บปวดผู้คลอดไม่ทำด้วยความนุ่มนวล
ใช้คีมไม่ถูกต้องเกิดการตกเลือด
ติดเชื้อ
อันตรายจากการแพ้ยาระงับความรู้สึก
ต่อทารก
กระทบกระเทือนต่อกระโหลกศีรษะ สมองและหนังศีรษะทารกในครรภ์
คีมกด Clavical plexus จะทำให้เกิด Erb’ s Palsy
แรงกดที่ศีรษะเกิด Asphyxia
คีมกด Facial nerve จะทำให้เกิด Facial Palsy
หูหนวกกระทบกระเทือนต่อ Auditory Organ
ปอดบวมและถุงลมแฟบ
ขั้นตอนการทำ
ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธ์
ใส่ใบคีมทั้งสองข้างครบจึงล็อค
Tentative traction
Traction ขณะดึงควรตรวจสอบ Fetal heart sound
เป็นระยะ การดึงต้องดึงจนศีรษะมี Crowning
การใส่ใบคีมต้องใส่ข้างซ้ายก่อนข้างขวา
Birth of Head ทำคลอดศีรษะเหมือนตามปกติตามกลไกการคลอด
แพทย์ผู้ทำประเมินสภาพช่องเชิงกรานผู้คลอดโดยการตรวจภายใน
Removal แก้ปลดล็อค นำใบคีมขวาออกก่อนจึงนำใบคีมซ้ายออก
สวนปัสสาวะให้ผู้คลอด
นางสาวสุกัญญา พลเยี่ยม
รหัสนักศึกษา602701104 นักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิตชั้นปีที่3 รุ่นที่35