Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาที่มีปัญหาสุขภาพในระยะหลังคลอด…
บทที่ 8
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาที่มีปัญหาสุขภาพในระยะหลังคลอด
การติดเชื้อหลังคลอด (Postpartum infection)
เยื้อบุมดลูกอักเสบ (Endometritis)
อาการและอาการแสดง
การักษา
การรักษาตามอาการ
ร่วมกับการให้ยาปฏิชีวนะ ที่ครอบคลุมเชื้อที่สงสัย
น้ำคาวปลาไม่เปลี่ยนสี จะมีสีน้ำตาลแดง
อาจมีเยื่อหุ้มรกออกมา
มดลูกมีขนาดใหญ่คลำได้ทางหน้าท้อง :!!:
มีลักษณะนุ่ม กดเจ็บ
:star: มีน้ำคาวปลามีกลิ่นเหม็น
ชีพจร 90-120 ครั้งต่อนาที อาจมีดอาการปวดศีรษะ อ่อนเพลีย
WBC > 20,000/mm3 และมีการเพิ่มขึ้นของ neutrophil
3 วันหลังคลอดมีไข้ ไม่เกิน 38.8 องศาเซลเซียส
มดลูกไม่เข้าอู่ (Subinvolution of Uterus)
สาเหตุ
อาการและอาการแสดง
การรักษา
การพยาบาล
• Early ambulation postpartum
• ติดตาม vital signs
• ประเมิน daily HF, lochia, อาการปวดมดลูก
Antibiotic in endometritis
Dilatation and Curettage
ให้ยา Oxytocin
ระดับยอดมดลูกไม่ลดลง
ปวดมดลูกและมีไข
น้ำคาวปลาที่จางลงเปลี่ยนเป็นสีแดง
เหนื่อยอ่อนเพลีย
น้ำคาวปลาไม่จางลง
มีการติดเชื ้อของมดลูก (Endometritis)
ทารกไม่ได้ดูดนมแม
ภาวะต่างๆ ที่ทำให้การหดรัดตัวของมดลูกไม่ดี ได้แก่ มีเศษรกหรือหุ้มเยื่อทารกค้างในมดลูก มีก้อนเนื้องอกของมดลูก ตั้งครรภ์หลายครั้ง ทารกตัวโต กระเพาะปัสสาวเต็ม
มดลูกคว่ำหน้ามากหรือคว่ำหลังมาก
การผ่าตัดคลอดเอาทารกออกทางหน้าท้อง
อุ้งเชิงกรานอักเสบ (Parametritis)
อาการ
การรักษา
การรักษาตามอาการ
ร่วมกับการให้ยาปฏิชีวนะ ที่ครอบคลุมเชื้อที่สงสัย
ถ้ามีฝีหรือหนองต้องระบายออก
:star: มดลูกโตขึ้น กดเจ็บที่มดลูกส่วนล่างข้างเดียวหรือสองข้าง
:star: ไข้ 38.9-40 องศาเซลเซียส ร่วมกับ tachycardia
:star: ตำแหน่งมดลูกจะ fix จากหนองที่เกิดขึ้นตาม round ligament
ติดเชื้อที่ปากมดลูกหรือมดลูก ลามไปทางหลอดน้ำเหลือง ทำให้เกิดเยื่อบุช่องท้องอักเสบเป็นหนองในอุ้งเชิงกราน
การอักเสบติดเชื้อ ภายหลังจากการคลอดทางช่องคลอด หรือการผ่าตัดคลอดส่วนมากเกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย ผู้ป่วยมักมีไข้สูงตั้งแต่ 38 องศาเซลเซียสขึ้นไปหลังจาก 24 ชั่วโมงของการคลอดบุตร จนถึงประมาณ 10 วันหลังคลอด
การคั่งของเลือดที่แผลฝีเย็บ
ก้อนเลือดคั่งที่ฝีเย็บ (Hematoma)
สาเหตุ
อาการและอาการแสดง
การรักษา
ใส่สายสวนปัสสาวะไว้ถ้าผู้ป่วยปัสสาวะเองไม่ได้
รักษาโดยวิธีผ่าตัดเข้าไปเอาก้อนเลือดคั่งออก
ถ้าขนาดของก้อนเลือดคั่งไม่ใหญ่ จะรักษาตามอาการและใช้น้ำแข็งกดทับ ให้ยาแก้ปวด ยาแก้อักเสบ
:!: ปวดบริเวณทีมีก้อนเลือดคั่งชัดเจน
:!?: อาจจะมีปัญหาปัสสาวะ หรือ อุจจาระลำบาก
:!!: รู้สึกปวดถ่วงในช่องคลอด
การแตกของเส้นเลือดดำขอด (varicose vein)
การเย็บไม่ถึงก้นแผล
มีรายงานเกิดจากการแตกของหลอดเลือดโป่งพอง (aneurysm) บริเวณ hypogastric artery
ภาวะผิดปกติด้านจิตใจหลังคลอด
ภาวะจิตประสาทหลังคลอด (Postpartum psychosis)
อาการและอาการแสดง
:!!:: มีอาการรุนแรงทันที นอนไม่หลับ กระสับกระส่ายหงุดหงิดง่าย อารมณ์ไม่แน่นอน วิตกกังวลอย่างมาก อาการต่อมาคือ สับสน จำเวลา สถานที่ บุคคลไม่ได้ ความจำเสื่อม สมาธิเสียวุ่นวาย พูดเพ้อเจ้อ มีท่าทางแปลกๆ ร้องไห้คร่ำครวญ หลงผิด หวาดระแวง ประสาทหลอน หูแว่ว บางรายซึม เบื่ออาหาร มีความคิดว่าบุตรจะถูกแย่ง ถูกขโมย ตำหนิตนเอง ลงโทษว่าตนไม่ดี คิดและพยายามฆ่าตัวตาย
:!: อาการมักจะเริ่มตั้งแต่ 48-72 ชั่วโมง หลังคลอด และไม่พบอาการในผู้ป่วยหลังคลอดเกิน 2 สัปดาห์แล้ว
การรักษา
การพยาบาล
• ป้องกันการทำร้ายตนเอง
• สิ่งที่อาจก่อให้เกิดอันตรายเก็บให้พ้นบริเวณที่มารดาพัก เช่น มีด กรรไกร
• ให้ความสนใจทุกกิจกรรมและคำพูด
• ดูแลให้ได้รับยา
• สังเกตอาการอย่างใกล้ชิด
:pen: รับรักษาในโรงพยาบาล และงดเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา
:pen: การใช้ยา โดยยาที่ใช้จะมีอยู่ 3 กลุ่มคือ ยาต้านโรคจิต (Antipsychotic drug) ยาลดภาวะซึมเศร้า (Antidepressants) ยาควบคุมอารมณ์ (Mood stabilizer)
ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด (Postpartum depression)
อาการ
:red_flag: มองโลกในแง่ร้าย จะแสดงให้เห็นว่าพฤติกรรมที่เปลี่ยนไปจากเดิม
:red_flag: ภาวะที่จิตใจหม่นหมอง หดหู่ เศร้าสร้อย ร่วมกับรู้สึกท้อแท้ หมดหวัง
:red_flag: อาการเด่นชัดหลังคลอด 2-3 เดือน มีอาการนานกว่า 2 สัปดาห์
การรักษา
:pencil2: เข้ากลุ่มจิตบำบัด
การพยาบาล
ให้ความสนใจ สร้างสัมพันธภาพที่ดีแก่มารดา พูดคุยให้การดูแลเอาใจใส่ ให้กำลังใจมารดาสม่ำเสมอ
และควรแนะนำสามี และญาติให้กำลังใจมารดา และให้การช่วยเหลือมารดาในการดูแลทารกทันที ที่พบว่ามารดาเริ่มมีความยุ่งยากในการดูแลบุตร
อธิบายสาเหตุความไม่สุขสบายและความแปรปรวนของอารมณ์และจิตใจในระยะหลังคลอด
ในรายที่มีอาการรุนแรง พยาบาลควรเพิ่มความสังเกต ดูแลอย่างใกล้ชิด
การดูแลให้มารดาได้รับความสุขสบายและการพักผ่อนอย่างเพียงพอ
:pencil2: การบำบัดด้วยยา ในกลุ่ม Selective serotonin reuptake inhibitor เป็นอันดับแรก
การติดเชื้อหลังคลอด (Postpartum infection)
เต้านมอักเสบ (Breast Abscess)
สาเหตุ
อาการและอาการแสดง
การรักษา
ให้ยาแก้ปวด
ให้นมบุตรได้ ยกเว้นมีอาการปวดมาก
ให้ยาปฏิชีวนะที่ครอบคลุมเชื้อที่พบบ่อย
การเจาะระบายหนอง นิยมวิธีใช้เข็มเจาะดูด (needle aspiration)
เพาะเชื้อน้ำนมข้างที่มีการอักเสบก่อนเริ่มรักษา
:check: ผิวหนังจะนุ่ม เป็นมัน ต่อมน้ำเหลืองที่รักแร้อาจโต และเจ็บ
:check: ผิวหนังบริเวณเต้านมมีลักษณะ แดง ตึง แข็ง เจ็บ ปวด
:check: มีไข้
มีการติดเชื้อ เชื้อที่พบบ่อย คือ Staphylococcus Aureus ถ้าไม่รักษาจะเกิดอาการรุนแรง
หัวนมแตก ถลอกหรือมีรอยแตก จากการบีบนวดเต้านมมากๆ เต้านมคัดมาก ท่อน้ำนมอุดตัน และจากการดูดนมของทารกที่มี เชื้อในจมูกและคอ โดยเชื้อเข้าสู่ท่อนมโดยตรง
:star: การอักเสบของต่อมน้ำนม พบในช่วง 3-4 สัปดาห์หลังคลอด มักจะเป็นข้างเดียวและบางตำเแหน่ง
เยื่อบุช่องท้องอักเสบ (Peritonitis)
การรักษา
ถ้าเป็นรุนแรงจากแผลมดลูกเน่าและแยก หรือมีการ
แตกทะลุของลำไส้ จะต้องได้รับการผ่าตัดเร่งด่วน
การให้ยาปฏิชีวนะที่ครอบคลุมทั้ง aerobes และ anaerobes
ท้องอืดหรือแน่นท้อง
ปวดท้องหรือสัมผัสท้องแล้วปวด บางรายไม่ชัดเจน เนื่องจากผนังหน้าท้องจะมีความหย่อนตัวในช่วงหลังคลอด
เชื้อเข้าทางช่องคลอดผ่านปากมดลูก เข้ามดลูกปีกมดลูกกระจายเข้าเยื่อบุช่องท้อง
ไข้
คลื่นไส้และอาเจียน
เบื่ออาหาร
การติดเชื้อที่แผลฝีเย็บ
Episiotomy infection
การติดเชื้อที่แผลแผลผ่าตัด
(Abdominal incisional infections)
สาเหตุ
การดูแลรักษา
ทำแผลแบบเปียก (wet dressing) 2 ครั้งต่อวัน
เริ่มมีการสร้างเนื้อเยื่อใหม่ 4-6 วัน แล้วจึงเย็บปิดแผลด้วยไหม
การให้ยาปฏิชีวนะ ร่วมกับการผ่าตัดระบายหนอง
เริ่มแสดงอาการไข้ตั้งแต่ 4 วันหลังผ่าตัด หรือในบางราย อาจพบว่ายังมีไข้ต่อเนื่องในขณะได้รับ ยาปฏิชีวนะ
บริเวณแผลจะแดงและมีหนอง
ปัจจัยเสี่ยง เช่น DM, HT, Obesity ect.
สาเหตุ
ลักษณะของแผลติดเชื้อ
การรักษา
ในรายที่มีลักษณะแผลอักเสบแต่ยังไม่มีหนอง
สามารถให้ยาปฏิชีวนะอย่างเดียว
การดูแลแผลให้ sitz bath บ่อยๆ ทุกวัน
ขจัดเนื้อตายและเปิดระบายหนองร่วมกับให้ยาปฏิชีวนะ
ให้ยาแก้ปวด
:!: เริ่มจากขอบแผลบวม เปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลแดง
:!!: ไหมที่เย็บอาจขาดหลุดออกมา จนทำให้เกิดการแยกของแผล
:!?: มีหนองตามมา
การติดเชื้อสัมพันธ์กับการแยกของแผล
ปัจจัยส่งเสริมให้เกิดแผลแยกอื่นๆ เช่น ความผิดปกติของระบบการแข็งตัวของเลือด การสูบบุหรี่ การติดเชื้อ HPV
มีอาการปวดเฉพาะที่ที่แผล ปัสสาวะลำบาก อาจมีปัสสาวะคั่งหรือไม่ก็ได้
มีไข้ มักจะเป็นไข้ต่ำๆ
ภาวะหลอดเลือดดำอักเสบในอุงเชิงกราน (Pelvic Thrombophlebitis)
สาเหตู
อาการและอาการแสดง
การรักษา
• ส่วนการให้ Heparin ร่วมด้วยเชื่อว่าอาจทำให้ไข้ลดลงช้าลง
• การรักษาการติดเชื้อที่สำคัญ คือ การให้ยาปฏิชีวนะ
ปวดบริเวณท้องน้อยด้านล่างและปวดบริเวณสีข้าง (Flank) อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือทั้งสองอย่าง
ตรวจพบก้อนบริเวณ Parametrium กดเจ็บตามเส้นเลือดที่มีการอักเสบ
มักจะมีอาการปวดบริเวณที่มีการอักเสบในวันที่สองหรือสามหลังคลอด
อาจจะมีไข้หรือไม่มีก็ได
ผลตรวจ CT หรือ MRI
:warning: เกิดจากการติดเชื้อบริเวณมดลูก โดยเฉพาะบริเวณที่เป็นที่เกาะของรกบริเวณ Fundus
:warning: การอักเสบของเส้นเลือดในบริเวณกล้ามเนื้อมดลูกลุกลามเข้าไปใน Ovarian Vein ซึ่งข้างขวาจะเข้า Inferior Vena Cava ข้างซ้ายจะเข้า Renal Vein
การพยาบาลมารดาที่มีภาวะติดเชื้อหลังคลอด
ขั้นประเมินข้อมูล (Assessment)
การให้พยาบาล
• ดูแลการให้สารน ้าและอาหารทางหลอดเลือด
• การเตรียมอุปกรณ์กู้ชีวิตกรณีคาดว่าอาจมีภาวะช็อก
:star: การพยาบาลขณะมีอาการรุนแรง
:star: อาการปวด
:star: การพยาบาลเมื่อมีไข้ การระบายหนอง ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
:star: การส่งเสริมให้น้ำคาวปลาไหลดี
การให้คำแนะนำในการรักษาสุขภาพ สุขวิทยาส่วนบุคคล
จัดให้นอนท่า Fowler’ position
:star: การพยาบาลเพื่อการป้องกันการติดเชื้อหลังคลอด
ประเมินบริเวณที่มีการติดเชื้อ
เยื่อบุโพรงมดลูกอักเสบ (Endometritis)
ฝีเย็บ
หลอดเลือดดำอักเสบในอุ้งเชิงกราน
การติดเชื้อกระจายออกนอกมดลูก ได้แก่ เยื่อบุช่องท้องอักเสบ เป็นหนอง ในอุ้งเชิงกราน (Parametritis) และเยื่อบุช่องท้อง (Peritonitis)
การประเมินสาเหตุของการติดเชื้อ
ปัจจัยเสี่ยงต่าง ๆ
ปัจจัยส่งเสริมให้เกิดการติดเชื้อหลังคลอด