Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวินิจฉัยปัญหาสุขภาพชุมชนและการวางแผนงาน/โครงการ - Coggle Diagram
การวินิจฉัยปัญหาสุขภาพชุมชนและการวางแผนงาน/โครงการ
การประเมินภาวะสุขภาพชุมชนและ การวินิจฉัยชุมชน
ขั้นการประเมินภาวะสุขภาพชุมชน
Data Collection
ชนิดของข้อมูล (Type of Data)
ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data):
ข้อดี ได้ข้อมูลครบตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการ ทันสมัย
ข้อเสีย เสียเวลา งบประมาณ
ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data):
ข้อดี ไม่สิ้นเปลือง กำลังคน หรือค่าใช้จ่าย
ข้อเสีย อาจไม่ได้ข้อมูลครบถ้วนตามที่ต้องการ
Data Analysis
1.ข้อมูลเชิงปริมาณ
1.1 Descriptive Stat.
ข้อมูลทั่วไปส่วนบุคคล เช่น อายุ เพศ การศึกษา อาชีพ รายได้
1.2 Inferential Stat.
2ข้อมูลเชิงคุณภาพ
2.1การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ( Content Analysis)
Data Presentation
หลักการ: ถูกต้อง กระชับ น่าสนใจ เข้าใจง่าย
ขั้นการวินิจฉัยชุมชน (Community Diagnosis)
Problem Identification
ใช้เกณฑ์ ตัวชี้วัดด้านสุขภาพ
เช่น ตัวชี้วัดการดำเนินงานด้านสุขภาพของกระทรวง ของจังหวัด เกณฑ์จปฐ.
5D: Dead, Disability, Disease, Discomfort, Dissatisfaction
1.ตาย 2.พิการ 3.โรค 4ความไม่สุขสบาย. 5.ความไม่พึงพอใจ
กระบวนการกลุ่ม (Nominal Group Process)
Priority Setting
การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา (Priority setting)
ขนาดปัญหา ความรุนแรง ความยาง่ายในการแก้ปัญหา ความวิตกกังวลของชุมชน
Web of Causation
การระบุสาเหตุ และทำโยงใยสาเหตุของปัญหา
ชนิดของสาเหตุ (Type of Causation)
-สาเหตุทางตรง
-สาเหตุทางอ้อม
ชนิดของโยงใยสาเหตุของปัญหา (Type of web of causation)
โยงใยสาเหตุทางทฤษฎี (Theoretical Web of causation)
โยงใยสาเหตุที่เกิดขึ้นจริง (Causal Web of causation)
การประเมินผลโครงการ
กระบวนการที่ก่อให้เกิดสารนิเทศในการปรับปรุง โครงการ และสารนิเทศในการตัดสินผลสัมฤทธิ์ ของโครงการ
1.ประสิทธิผล (Effectiveness)
เป็นการประเมินผลลัพ์หรือผลงานในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพได้ตรงตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายมากน้อยเพียงใด
2.ประสิทธิภาพ(Efficiency)
เป็นการประเมินว่าผลงานที่ได้ออกมาสิ้นเปลืองงบประมาณหรือทรัพยากรเพียงใด มักใช้การวิเคราะห์ต้นทุนและประโยชน์ (Cost benefit analysis() หรือการวิเคราะห์ต้นทุนและประสิทธิผล(Cost–effectiveness analysis)
3.ความพอเพียง(Sufficiency)
เป็นการประเมินว่า
โครงการตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการได้ในระดับใด พอเพียงที่จะแก้ปัญหาที่มีอยู่หรือไม่
4.ความเหมาะสม(Appropriateness)
ประเมินเพื่อดูว่าการจัดบริการสอดคล้องกับความต้องการของผู้รับบริการหรือไม่ เพียงใด เหมาะสมกับพื้นที่ และเหมาะสมกับเวลาหรือไม่
5.ความเสมอภาค (Equality)
ประเมินเพื่อดูว่าใครบ้างมีโอกาส หรือไม่มีโอกาสได้รับผลลัพธ์โครงการ ดูความเท่าเทียมที่ผู้รับพึงได้รับบริการ
แผนงานและโครงการ
ความสำคัญของการวางแผน
การวางแผนเป็นเครื่องช่วยให้มีการตัดสินใจอย่างมีหลักเกณฑ์ เพราะได้มีการศึกษาสภาพเดิมในปัจจุบันแล้วกำหนดสภาพใหม่ในอนาคต
ลักษณะของแผนที่ดี
1.มีความชัดเจน
2.มีความสมบูรณ์
3.มีความแม่นตรง
4.มีความครอบคลุม
5.มีความยืดหยุ่น
6.มีความเป็นพิธีการ
7.มีความง่ายในการปฏิบัติ
8.มีความง่ายในการควบคุม
9.มีความประหยัด
ประเภทของแผน
1.แผนระดับสูง
2.แผนระดับปฏิบัติการหรือแผนปฏิบัติการ
แผน(Plan)
โครงการ(Project)
คือส่วนที่จะทำให้แผน
ปฏิบัติการที่วางไว้กลายเป็นจริง มีความเป็น
1.แบบประเพณีนิยม
.ชื่อโครงการ
หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์
หลักการเขียนวัตถุประสงค์
S : Sensible (เป็นไปได้ )
M : Measurable (วัดได้)
A : Attainable
R : Reason (เป็นเหตุเป็นผล)
T : Time (เวลา)
เป้าหมาย
ใคร ทำอะไร เท่าไหร่ เมื่อไหร่
วิธีดำเนินการ หรือกิจกรรม หรือขั้นตอนการ
ดำเนินงาน(ทำอะไร อย่างไร)
ระยะเวลาการดำเนินงานโครงการ(ทำเมื่อไหร่)
งบประมาณ(ได้จากแหล่งไหน และใช้เท่าไหร่)
2.แบบตารางเหตุผลสัมพันธ์
โครงการและการเขียนโครงการ
"แผนหรือเค้าโครงการตามที่กะกำหนดไว้"โครงการเป็นส่วนประกอบส่วนหนึ่งในการวางแผนพัฒนา ซึ่งช่วยให้เห็นภาพ และทิศทางในการพัฒนา ซึ่งมีขอบเขตในการที่จะสามารถติดตาม และประเมินผลได้