Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นโยบาย กฎหมาย แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ และจริยธรรมในการดูแลผู้สูงอายุ -…
นโยบาย กฎหมาย แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ และจริยธรรมในการดูแลผู้สูงอายุ
เส้นทางนโบาย
ภาพลักษณ์
มึสุขภาพกายและจิตที่ดี
อยู่ในครอบครัวอย่างมีความสุข
พึ่งตนเองได้ มีประโยชน์เป็นที่ยึดเหนี่ยวทางจิตใจของครอบครัว
ได้รับสวัสดิการและยริการที่เหมาะสม
มีความรู้และมีโอกาสได้เรียนรู้ตลอดชีวิต
พ.ศ.2525
จัดตั้งคณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติขึ้นครั้งแรก
จัดทำแผนผู้สูงอายุเเห่งชาติ ฉบับที่1 (พ.ศ.2525-2544)
คณะรัฐมนตรีมีมติให้ วันที่13เมษายน ของทุกปีเป็นวันผู้สูงอายุ
พ.ศ.2540
ประเทศไทยมีรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรพ.ศ.2540 มาตราที่54 และมาตรา80
พ.ศ.2541
มีการรับรอง ปฏิญญามาเก๊า
พ.ศ.2542
องค์การสหประชาชาติประกาศให้ปีพ.ศ.2542เป็นปีสากล
พ.ศ.2545
ได้มีการจัดทำแผนผู้สูงอายุแห่งชาติฉบับที่2 (พ.ศ.2545-2564)
พ.ศ.2546
ได้มีการจัดทำและประกาศใช้ พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ.2546
พ.ศ.2550
ประเทศไทยมีรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550
ปฏิญญาผู้สูงอายุ
ข้อ 1 ผู้สูงอายุต้องได้รับปัจจัยพื้นฐานในการดำรงชีวิตอย่างมีคุณค่าและศักดิ์ศรี
ข้อ 2 ผู้สูงอายุอยู่กับครอบครัวโดยได้รับความเคารพรัก
ข้อ 3 ผู้สูงอายุควรได้รับโอกาสในการศึกษาเรียนรู้
ข้อ 4 ควรได้ถ่ายทอดความรู้ประสบการณ์ให้สังคม
ข้อ 5 ควรได้เรียนรู้ในการดูแลสุขภาพอนามัยของคนเอง
ข้อ 6 พึ่งพาตนเองได้
ข้อ 7 ให้มีส่วนร่วมส่งเสริมและประสานให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องช่วยเหลือซึ่งกันและกันในชุมชน
ข้อ 8 คุ้มครองสัวสดิภาพและจัดสัวสดิการแก่ผู้สูงอายุ
ข้อ 9 ปลูกฝังค่านิยมให้สังคมตระหนักถึงคุณค่าของผู้สูงอายุ
พ.ร.บ.ผู้สูงอายุ พ.ศ.2546
บทบัญญัติเกี่ยวกับรัฐมนตรีผู้รับผิดชอบ มาตรา 3
บทบัญญัติเกี่ยวกับคณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ มาตรา4-10
บทบัญญัติเกี่ยวกับสิทธิผู้สูงอายุ มาตรา 11-12
บทบัญญัติเกี่ยวกับสิทธิผู้เลี้ยงดูผู้สูงอายุ มาตรา 17
บทบัญญัติเกี่ยวกับกองทุนผู้สูงอายุ มาตรา 16 18-22
บทบัญญัติระหว่างเตรียมการ มาตรา 23
บทบัญญัติเกี่ยวกับรัฐมนตรีรักษษการ มาตรา 24
แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2
สุขภาพดีทั้งกายและจิต ครอบครัวอบอุ่น มีสังคมที่ดี มีหลักประกันที่มั่นคง ได้รับสวัสดิการและการบริการที่เหมาะสมอยู่อย่างมีคุณค่า มีศักดิ์ศรี พึ่งตนเองได้ มีส่วนร่วม มีโอกาสเข้าถึงข้อมูลอละข่าวสารอย่างต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์ด้านการเตรียมความพร้อมของประชากรเพื่อวัยสูงอายุที่มีคุณภาพ
ยุทธศาสตร์ด้านการส่งเสริมผู้สูงอายุ
ยุทธศาสตร์ด้นระบบคุ้มครองทางสังคมสำหรับผู้สูงอายุ
ยุทธศาสตรฺด้สนการบริหารจัดการเพื่อการพัฒนางานด้านผู้สูงอายุระดับชาติ และการพัฒนาบุคลากรด้สนผู้สูงอายุ
ยุทธศาสตร์ด้านการประมวล และพัฒนาองค์ความรู้ด้านผู้สูงอายุ และการติดตามประเมินผล การดำเนินตามแผนผู้สูงอายุแห่งชาติ
พินัยกรรมชีวิต
เอกสารที่จัดทำขึ้นเพื่อแสดงจำนงว่าเมื่ออยู่ในสภาพที่ไม่สามารถตัดสินใจได้ด้วยตนเอง
รูปแบบความรุนแรงต่อผู้สูงอายุ
ความรุนแรงทางร่างกาย
ความรุนแรงทางจิตใจ
การทอดทิ้ง
การละเมิดทางเพศ