Post op for Rt.Thoracotomy with decortication with Lobectomy Rt. Lung under GA day2
1.เสี่ยงต่อภาวะเนื้อเยื่อในร่างกายได้รับออกซิเจนไปเลี้ยงไม่เพียงพอเนื่องจากพื้นที่การแลกเปลี่ยนก๊าซลดลง
2.ไม่สุขสบายเนื่องจากมีอาการปวดแผลผ่าตัดบริเวณทรวงอก
3..เสี่ยงต่อการติดเชื้อเนื่องจากมีช่องทางเปิดของผิวหนัง
วัตถุประสงค์
เกณฑ์การประเมิน
ข้อมูลสนับสนุน
การพยาบาล
วัตถุประสงค์
เกณฑ์การประเมิน
ข้อมูลสนับสนุน
การพยาบาล
วัตถุประสงค์
เกณฑ์การประเมิน
ข้อมูลสนับสนุน
การพยาบาล
4.พร่องกิจวัตรประจำวันเนื่องจากมีแผลผ่าตัดบริเวณทรวงอก
วัตถุประสงค์
เกณฑ์การประเมิน
ข้อมูลสนับสนุน
การพยาบาล
S: -
O: -ผู้ป่วยมีประวัติผลการตรวจ CT Chest พบ Large mass(6x5.5x7.5 cm.)at upper lobe Rt. Lung (10/06/63) -ผู้ป่วยรู้สึกตัวดี -P=100-112/min, R=22/min, หายใจเร็วตื้น, -ผู้ป่วยได้รับการผ่าตัด Rt. Thoracotomy with decortication with Lobectomy Rt. Lung (11/06/63) - มีแผลผ่าตัดบริเวณทรวงอกด้านขวาใต้ราวนม ยาวประมาณ 20 เซนติเมตร เย็บด้วย staple ปิดก๊อซไว้,-ใกล้ๆกับแผลผ่าตัดทรวงอก on ICD ต่อแบบ 3 ขวด
S:-
O:- ผู้ป่วยมีแผลผ่าตัดบริเวณทรวงอกด้านขวาใต้ราวนม ยาวประมาณ 20 เซนติเมตร เย็บด้วย staple ปิดก๊อซไว้ มีสารคัดหลั่งสีแดงปนเหลืองซึมติดก๊อซ - on ICD ต่อแบบ 3 ขวด
S:- ผู้ป่วยบอกว่า "เจ็บแผล"
O:- ผู้ป่วยมีสีหน้านิ่วขมวด
- pain score 7-8 คะแนน
- ผู้ป่วยได้รับการผ่าตัด Rt. Thoracotomy with decortication with Lobectomy Rt. Lung(11/06/63)
- มีแผลผ่าตัดบริเวณทรวงอกด้านขวาใต้ราวนม ยาวประมาณ 20 เซนติเมตร เย็บด้วย staple ปิดก๊อซไว้
- มีสารคัดหลั่งสีแดงปนเหลืองซึมติดก๊อซ
S:-
O:- ผู้ป่วยได้รับการผ่าตัด Rt. Thoracotomy with decortication with Lobectomy Rt. Lung(11/06/63)
-มีแผลผ่าตัดบริเวณทรวงอกด้านขวาใต้ราวนม ยาวประมาณ 20 เซนติเมตร เย็บด้วย staple ปิดก๊อซไว้
-มีสารคัดหลั่งสีแดงปนเหลืองซึมติดก๊อซ
- on ICD ต่อแบบ 3 ขวด
- T=37.8 ° C, P=100-112/min,
ผู้ป่วยสามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้บางส่วน
1.ผู้ป่วยมีร่างกายและสุขภาพช่องปากที่สะอาด
2.ผู้ป่วยได้รับการช่วยเหลือความต้องการกิจวัตรประจำวัน
2.ดูแลทำความสะอาดสิ่งแวดล้อม เช่น เสื้อผ้า การเปลี่ยนผ้าปูเตียง เพื่อป้องกันไม่ให้มีการสะสมของเชื้อโรค
3.ดูแลจัดของบนโต๊ะข้างเตียงให้เป็นระเบียบ เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ป่วย
1.ดูแลทำความสะอาดร่างกายและสุขภาพช่องปากให้สะอาด เพื่อสุขภาพอนามัยที่ดี
4.ดูแลการขับถ่ายและทำความสะอาดเมื่อผู้ป่วยขับถ่ายเสร็จ เพื่อไม่ให้มีการสะสมของเชื้อโรค
5.กระตุ้นให้ญาติมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย เพื่อเพิ่มสัมพันธภาพที่ดีขึ้นระหว่างผู้ป่วยและญาติ
ไม่มีการติดเชื้อที่ช่องทางเปิดของผิวหนัง
2.สัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ที่ปกติ T=36.5-37.5๐C, P=60-100 /min, R=16-24 /min, BP=90-140/60-90 mmHg, O2 sat มากกว่าหรือเท่ากับ 95%
3.แผลผ่าตัดบริเวณทรวงอกแดงดี ไม่มีdischargeซึมหรือเนื้อตาย เป็นต้น
1.ไม่มีอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อบริเวณที่ใส่ท่อระบาย เช่น มีไข้ บวม แดง ร้อน ไม่มีสารคัดหลั่ง หรือกลิ่นเหม็นบริเวณที่ใส่ท่อระบายทรวงอก เป็นต้น
4.ดูแลให้ขวดรองรับสารเหลวอยู่ต่ำกว่าระดับทรวงอกของผู้ป่วย ห้ามยกขวดรองรับสารเหลวงสูงกว่าระดับทรวงอก เพราะจะทำให้สารเหลวในขวดไหลย้อนกลับเข้าไปในช่อเยื้อหุ้มปอดได้ เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
3.แนะนำผู้ป่วยให้ระวังไม่ให้แผลโดนน้ำและห้ามแกะหรือเกาแผล เพื่อป้องกันไม่ให้แผลติดเชื้อ
2.ดูแลทำความสะอาดแผลผ่าตัดและแผลรอบท่อระบายวันละ 1 ครั้งตามแผนการรักษา โดยใช้หลัก aseptic technique เพื่อป้องกันไม่ให้แผลติดเชื้อ
5.ติดพลาสเตอร์ของท่อระบายทรวงอกกับผิวหนังให้แน่นและอธิบายให้ผู้ป่วยและญาติว่าหากท่อระบายทรวงอกหลุด ให้ผู้ป่วนนอนทับแผลหรือใช้ผ้าสะอาดปิดทันทีและรีบแจ้งพยาบาล เพื่อไม่มีเชื้อโรคหรือลมเข้าไปยังเยื่อหุ้มปอด
1.ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะ Ceftriaxone 2 gm vein q 12 hr.ตามแผนการรักษา โดยยาจะออกฤทธิ์ยับยั้งการสร้างผนังเซลล์แบคทีเรีย จะฆ่าเชื้อแบคทีเรียแกรมบวกให้ตาย และติดตามผลข้างเคียงของยา ได้แก่ ปวดศีรษะ มึนงง คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย มีอาการบวมแดง และปวดบริเวณที่ฉีดเป็นต้น เพื่อป้องกันการติดเชื้อหลังผ่าตัด
6.สังเกตอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อ เช่น มีไข้ ปวด บวม แดง ร้อนหรือมีสารคัดหลั่งบริเวณแผลผ่าตัดและท่อระบายทรวงอก เพื่อเฝ้าระวังอาการแสดงของการติดเชื้อ
7.ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชม. เพื่อประเมินภาวะการติดเชื้อโดยเฉพาะอุณหภูมิร่างกาย
8.ติดตามผลตรวจCBC เช่น WBC, neutrophil, lymphocyte เพื่อประเมินภาวะติดเชื้อ
ผู้ป่วยมีอาการปวดลดลง
1.ผู้ป่วยบอกว่าเจ็บแผลลดลง
2.ไม่มีสีหน้านิ่วคิ้วขมวด
3.pain score น้อยกว่า 7 คะแนน
2.ดูแลให้ได้รับแก้ปวดTramadol 50 mg vein q 12 hr.ตามแผนการรักษา เมื่อมีอาการปวดปานกลาง pain score=4-6 คะแนน เพื่อลดอาการปวดแผล โดยยาออกฤทธิ์กระตุ้นมิวรีเซปเตอร์ (µ-receptor) รวมทั้งมีฤทธิ์กดการทำงานของระบบประสาทและจะเพิ่มการทำงานของสารสื่อประสาทเซโรโทนิน (Serotonin) และนอร์อิพิเนฟริน (Norepinephrine) ซึ่งสารทั้งสองตัวนี้เมื่อมีปริมาณเพิ่มขึ้นที่บริเวรปลายประสาท จะช่วยบรรเทาอาการปวดได้ และติดตามผลข้างเคียงของยา ได้แก่ สับสน มึนงง ง่วงซึม เวียนศีรษะหรือคลื่นไส้อาเจียน เป็นต้น
3.แนะนำให้ผู้ป่วยหายใจเข้าออกลึกๆยาวๆ(deep breathing) เพื่อให้กล้ามเนื้อคลายตัวและลดอาการปวด
1.ดูแลให้ได้รับยาแก้ปวด morphine 3 mg vein q 4 hr. ตามแผนการรักษา เมื่อมีอาการปวดรุนแรงpain score=7-10 คะแนน เพื่อบรรเทาอาการปวดแผล โดยยาจะออกฤทธิ์ยับยั้งสัญญาณความเจ็บปวดที่เข้าสู่สมองด้วยการไปจับกับOpiod receptors ทำให้อาการปวดลดลง และติดตามผลข้างเคียงของยาได้แก่ กดการหายใจ คลื่นไส้อาเจียน เวียนศีรษะ ง่วงซึม ท้องผูก ม่านตาเล็กลงหรือเหงื่อออก เป็นต้น หลังให้ยาต้องประเมินอาการทุก 15-30 นาที ถ้าพบอัตการหายใจ<16/min ควรรีบรายงานแพทย์และเฝ้าระวังระดับความง่วงซึมโดยประเมินSedation scores ก่อนและหลังให้ยาทุกครั้ง
4.จัดสิ่งแวดล้อมให้สะอาด ถ่ายเทอากาศได้สะดวกและดูแลให้ผู้ป่วยนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ เพื่อให้ผู้ป่วยสุขสบายมากขึ้น
5.แนะนำให้ผู้ป่วยใช้หมอนหรือมือประคองแผลขณะไอหรือเคลื่อนไหวร่างกาย เพื่อลดการสั่นสะเทือนและลดอาการปวด
6.เบี่ยงเบนความสนใจโดยแนะนำให้พูดคุยกับญาติ อ่านหนังสือ ฟังเพลงหรือทำสมาธิ เพื่อลดความสนใจอาการปวด
7.ประเมิน pain score ทุก15-30 นาที หลังผู้ป่วยได้รับยาบรรเทาอาการปวด เพื่อประเมินความรุนแรงของการปวด
ป้องกันเกิดภาวะเนื้อเยื่อในร่างกายได้รับออกซิเจนไปเลี้ยงไม่เพียงพอ
2.ผิวหนังอุ่น สีผิวปกติไม่ซีด capillary filling time<2 sec.
1.ไม่มีอาการและอาการแสดงของภาวะเนื้อเยื่อได้รับออกซิเจนไปเลี้ยงไม่เพียงพอ เช่น หายใจเหนื่อยหอบ หายใจเร็ว ปลายมือปลายเท้าเย็น ชีพจรเบาเร็ว เป็นต้น
2กรณีที่มีการหย่าเครื่องช่วยหายใจ (weaning of ventilator)แล้ว จะดูแลให้หายใจผ่านทาง O2 mask with bag 10 LPM เป็นเวลา 2 hr. เพื่อดูอาการแสดงของภาวะพร่องออกซิเจน
3.สัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ที่ปกติ T=36.5-37.5๐C, P=60-100 /min, R=16-24 /min, BP=90-140/60-90 mmHg, O2 satมากกว่าหรือเท่ากับ 95%
5.แนะนำให้ผู้ป่วยดูด Tri-flow (Incentive spirometer) บ่อยๆตามแผนการรักษา โดยจะให้ผู้ป่วยลุกนั่งหรือไขหัวเตียงให้สูงขึ้น หายใจเข้าออกลึกๆ 3-5 ครั้ง จากนั้นถือเครื่องTri-flow ให้อยู่ระดับอก อมปากคาบไว้ในปาก ปิดริมฝีปากให้สนิท หายใจเข้าช้าๆ และลึก ๆ หายใจค้างไว้นานเท่าที่จะทำได้ (อย่างน้อย 5 วินาที) แล้วจึงปล่อยลมหายใจออก แล้วพักประมาณ 2 – 3 วินาที แล้วจึงเริ่มต้นใหม่ ทำวนแบบนี้ 10-20 ครั้ง วันละ 3-4 รอบ (พยายาม
ให้ผู้ป่วยดูดได้อย่างน้อยวันละ 100 ครั้ง/วัน) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของปอดให้ดีขึ้นและป้องกันปอดแฟบ
3.ดูแลให้ได้รับการใส่สายระบาย ICD ต่อแบบ 3 ขวด เพื่อระบายลมหรือเลือดออกจากปอดและช่วยให้ปอดขยายได้ดีขึ้น
6.ดูแลให้ผู้ป่วยนอนท่าศีรษะะสูง 30-45 องศาเพื่อเพิ่มการขยายของปอดให้ดีขึ้น และดูแลให้bed rest ทำกิจกรรมบนเตียง เพื่อลดการใช้ออกซิเจน
4.สอนให้ผู้ป่วยหายใจเข้าออกลึกๆยาวๆ(deep breathing)และไออย่างมีประสิทธิภาพ (effective cough) เพื่อสามารถขับเสมหะออกมาได้
7.ประเมินV/S, O2 sat<95% และอาการแสดงของภาวะเนื้อเยื่อได้รับออกซิเจนไปเลี้ยงไม่เพียงพอ เช่น หายใจเหนื่อยหอบ หายใจเร็ว ปลายมือปลายเท้าเย็น ชีพจรเบาเร็ว เป็นต้น เพื่อติดตามดูภาวะพร่องออกซิเจน
1.ดูแลให้ได้รับออกซิเจน ET tube with ventilator setting A/C mode, TV 550 ml, RR 14-16 /min ตามแผนการรักษา โดยดูแลท่ออยู่ในตำแหน่งที่เหมาะสม ไม่หักพับงอ ไม่ดึงรั้ง เพื่อป้องกันภาวะเนื้อเยื่อขาดออกซิเจนและการเลื่อนหลุดของท่อช่วยหายใจและตรวจสอบกระบอกความชื้น(humidifier) ให้มีน้ำตลอดเวลาและระวังไม่ให้น้ำอยู่ต่ำกว่าตำแหน่งที่กำหนด เพื่อป้องกันเสมหะเหนียวข้น โดยอุณหภูมิความชื้นควรอยู่ระหว่าง 35-36๐C
ประเมิน V/S,O2 sat ทุก 15 นาที 4 ครั้ง,ทุก 30 นาที 2 ครั้ง,และทุก 1 ชั่วโมงจนกว่าจะคงที่
ถ้าV/S, O2 sat ดี จะเปลี่ยนเป็น O2 cannular 5 LPM ตามแผนการรักษา และเฝ้าระวังอาการและอาการแสดงของภาวะพร่องออกซิเจน
ข้อบ่งชี้ในการหย่าเครื่องช่วยหายใจ
สัญญาณชีพปกติ
มีความสมดุลของอิเล็กโทรไลต์
ผู้ป่วยมีระดับความรู้สึกตัวดี
มีค่าRSBI<100
ดูแลให้ผู้ป่วยอย่าเครื่องช่วยหายใจตามแผนการรักษา
เตรียมผู้ป่วยทั้งด้านร่างกายและจิตใจ -NPOก่อนการหย่าอย่างน้อย 6 ชม -ให้นอนหลับพักผ่อนอย่างเพียงพอ
ประเมินความพร้อมในการหย่าเครื่องช่วยหายใจทุกวันเวลาเช้า -ประเมิน Vital sign & O2 Sat
สอนและกระตุ้นให้ผู้ป่วยหายใจอย่างมีประสิทธิภาพ
จัดท่าให้ผู้่ปวยนอนศีรษะสูง 45 องศา และ Suctionก่อนหย่า
เฝ้าระวังอาการเหนื่อย อ่อนเพลีย Vital sign & O2 Saturation
7.หาภาชนะหรือวัสดุกันกระแทกมาใส่ขวดผนึกกั้นอากาศพร้อมยึดตรึงไม่ให้ขวดล้มหรือเอียงได้ เพื่อป้องกันการล้มแตก
4.หลีกเลี่ยงการClamp ด้วยคีมหนีบเป็นเวลานาน เพราะอาจทำให้เกิดภาวะลมรั่วในช่องเยื่อหุ้มปอดได้
5.ตรวจสอบการกระเพื่อมของระดับน้ำในหลอดแก้วแท่งยาวที่จุ่มใต้น้ำในขวดผนึกกั้นอากาศซึ่งจะสัมพันธ์กับการหายใจ ถ้าหายใจเข้าระดับน้ำในหลอดแก้วแท่งยาวสูงขึ้นประมาณ 2-4 นิ้ว และถ้าหายใจออกระดับน้ำในหลอดแก้วแท่งยาวจะต่ำลง หากไม่มีการกระเพื่อมของระดับน้ำแสดงว่าสายหักพับงอหรือถูกหนีบ ให้ผู้ป่วยรีบเปลี่ยนท่าหรือบีบคลึงสายเบาๆ
ผู้ป่วยสามารถหย่าเครื่องช่วยหายใจด้วยT-piece นานเกิน 2 ชม. รู้สึกตัวดี และประเมิน cuff leak test ผ่าน ให้แพทย์พิจารณาการถอดท่อช่วยหายใจ
6.ดูแลให้ขวดควบคุมแรงดันลบไม่เกิน 20 เซนติเมตรน้ำ เพราะถ้าเกินอาจทำให้อากาศภายนอกเข้ามาในขวดได้
3.ผลการประเมินADL (Barthel Activities of Daily living) อยู่ในระดับ12-20 คะแนน
3.ดูแลให้ขวดรองรับสารเหลวอยู่ต่ำกว่าระดับทรวงอกของผู้ป่วยประมาณ 2-3 ฟุต ห้ามยกขวดรองรับสารเหลวงสูงกว่าระดับทรวงอก เพราะจะทำให้สารเหลวในขวดไหลย้อนกลับเข้าไปในช่องเยื้อหุ้มปอดได้
2.ติดพลาสเตอร์ของท่อระบายทรวงอกกับผิวหนังให้แน่นและอธิบายให้ผู้ป่วยและญาติว่าหากท่อระบายทรวงอกหลุด ให้ผู้ป่วนนอนทับแผลหรือใช้ผ้าสะอาดปิดทันทีและรีบแจ้งพยาบาล เพื่อไม่ให้อากาศจากภายนอกเข้าไปยังเยื่อหุ้มปอด
1.ดูแลท่อระบายทรวงอกไม่ให้มีการหักพับงอ และจัดสายยางไม่ให้ห้อยโค้งต้านแรงโน้มถ่วงของโลกเพราะจะทำให้การระบายไม่สะดวก แต่ควรจัดสายให้มีความยาวให้เหมาะแก่การเคลื่อนไหว พลิกตะแคงตัวหรือทำกิจกรรมต่างๆ เพื่อป้องกันการดึงรั้งหรือเลื่อนหลุดของสาย
8.เปลี่ยนขวดรองรับของเหลวเมื่อมีของเหลวประมาณ 3ใน4ของขวดหรือทุกวันตามที่กำหนด เพื่อให้การระบายของเหลวมีประสิทธิภาพ โดย