Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
pateint - Coggle Diagram
pateint
ซักประวัติ
-
อาการเจ็บป่วยในอดีต
2 เดือนที่แล้วมีอาการไอกลางคืน แต่ไม่เหนื่อยหอบ
2-3 วันก่อนมาโรงพยาบาลมีไขต่ำๆ ไอแห้งๆ ไอมากเวลากลางคืน รู้สึก
แน่นหน้าอกเวลาไอ
2 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล รู้สึกหายใจไม่ออกแน่นหน้าอก เหงื่อออก
อาการเจ็บป่วยในอดีต
7 ปีที่แล้วแล้วมีหายใจเหนื่อยบ่อยๆต้องพ่นยาเป็นระยะๆจะพ่นยาเวลาที่ทำกิจกรรมจะทำให้หายเหนื่อย มีอาการเจ็บหน้าอกร่วมด้วยเป็นช่วงไอเยอะๆนอนหายใจแน่น
-
-
-
Plan
Plan for Treatment at ER
- ผู้ป่วยได้รับสารน้ำ 5%DN/2 V rate 80 cc/hr.
- ให้ออกซิเจน mask with bag เพื่อรักษาระดับของ SaO2 > 95% / if O2 sat<90% On Oxygen mask with bag 8 LPM
- ฟังปอดเพื่อดูว่าการหายใจของผู้ป่วย และในผู้ป่วยโรคหอบจะได้ยินเสียง Wheeze หรือ Rhonchi จากปอดทั้งสองข้าง
- ดูแลให้ได้รับยาขยายหลอดลม Ventolin 1 NB stat ตามแผนการรักษาของแพทย์และสังเกตอาการ ข้างเคียงจากการใช้ยา เช่น ปวดศีรษะมาก ใจสั่น ความดันโลหิตลดลงอย่างรวดเร็ว หมดสติ
- Beradual 2 ml + 0.9 % NSS up to 4 ml ทางเครื่องพ่นยาให้เป็นละอองฝอย
- จัดท่านอนศีรษะสูง 45 องศา และสอนการหายใจ พยาบาลควรเฝ้าดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด และเตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์เพื่อช่วยเหลือได้อย่างทันท่วงทีหากผู้ป่วยไม่สามารถรับออกซิเจนได้อย่างเพียงพอ และรายงานให้ แพทย์ทราบ
- วัดสัญญาณชีพทุก 30 นาที สังเกตติดตามการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วยอาการขาดออกซิเจนที่ผิวหนัง เล็บ เยื่อบุช่องปาก ริมฝีปากเขียวหรือไม่ บันทึกอาการเปลี่ยนแปลงอย่างสม่ำเสมอ ถ้าพบภาวะขาดออกซิเจนให้ การช่วยเหลือตามขอบเขตแห่งวิชาชีพพยาบาล และรายงานแพทย์ 6.ประเมินอาการซ้ำที่ 1 ชั่วโมง หลังได้รับยาขยายหลอดลม หากอาการดีขึ้นอนุญาตให้กลับบ้าน และถ้าหากอาการไม่ดีขึ้นให้รับไว้ในโรงพยาบาล
- ให้ได้รับยา dexamethazone 10 mg V stat / หากไม่ดีขึ้น dexamethazone 5 mg q 6 hr (ยาสเตอรอยด์ รักษาอาการแพ้ หอบหืด)
- หากอาการไม่ดีขึ้นให้ meptin 1 tab O stat (รักษาหลอดลมหดเกร็ง)
-
-
ชีวิต
-
เมื่อว่างผู้ป่วยจะชอบเล่นบาสเกตบอล จะมีอาการหอบเหนื่อยง่ายขณะเล่น เมื่อมีอาการหอบผู้ป่วยก็จะพ่นยา อาการหอบก็จะดีขึ้น ผู้ป่วยจะถูกคนรอบข้างจะมองว่าอ่อนแอ โดนเพื่อนแกล้งขโมยที่พ่นยาบ่อยๆผู้ป่วยจึงไม่อยากให้ใครเห็นว่าตัวเองอ่อนแอ งานอดิเรกของผู้ป่วยบางครั้งก็จะไปไปเที่ยวป่ากับเพื่อน เมื่อได้กลิ่นควันไฟก็จะมีอาการกำเริบ เมื่อมีอาการกำเริบผู้ป่วยก็จะพ่นยา ถ้าอาการไม่ดีขึ้นก็จะค่อยมาหาหมอที่โรงพยาบาล
สาเหตุ
-
วิเคราะห์
จากข้อมูลของผู้ป่วยพบว่าผู้ป่วยจะมีอาการหายใจเหนื่อยบ่อยเวลาที่ทำกิจกรรม เช่น เล่นบาสเกตบอล และต้องพ่นยาเป็นระยะๆ และจากประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัวพบว่าตา/ยาย มีประวัติการเจ็บป่วยเป็นโรคหอบหืด ดังนั้นจึงมีความเป็นไปได้ที่ผู้ป่วยจะเป็นโรค Asthma
จากทฤษฎีโรค asthma
เกิดจากการที่หลอดลมมีภาวะไวต่อการกระตุ้นจากสารก่อภูมิแพ้ หรือสิ่งแวดล้อมหากถูกกระตุ้นจะทำให้กล้ามเนื้อของหลอดลมหดเกร็ง มีการบวมของเยื่อบุบริเวณหลอดลม ทำให้เกิดการอักเสบ ตีบแคบ หายใจลำบาก ซึ่งปัจจัยที่ทำให้เกิดการตีบแคบ เช่น การหดตัวของกล้ามเนื้อรอบ ๆ หลอดลม การบวมอักเสบของเยื่อบุภายในหลอดลม หรือมีเสมหะจำนวนมากคั่งค้างอยู่ภายในหลอดลม
-
-
• สารเคมี - สารเคมีที่ใช้ในบ้านอาจกระตุ้นให้เกิดอาการมากขึ้น เช่น กลิ่นสี ยาฆ่าแมลง สเปรย์แต่งผม รวมไปถึงควันบุหรี่
• การออกกำลังกาย - บางคนเกิดอาการเมื่อต้องออกแรงในการทำกิจกรรมต่าง ๆ รวมถึง ออกกำลังกาย โดยเฉพาะในที่ที่มีอากาศเย็น
• ภาวะทางอารมณ์ - มักเกิดขึ้นในผู้ที่มีความเครียด ส่งผลให้หายใจผิดปกติโดยไม่รู้ตัว ทำให้หายใจแบบลึกบ้างตื้นบ้างสลับกันไปมา
• สารในกลุ่มซัลไฟต์ (Sulfites) และสารกันบูด สารที่เจือปนในอาหารหรือเครื่องดื่มบางชนิด เช่น ผลไม้แห้ง เบียร์ ไวน์
• โรคกรดไหลย้อน - ภาวะที่มีกรดในกระเพาะอาหารไหลย้อนขึ้นไปในหลอดอาหาร
ผู้ป่วยจะมีอาการแสบร้อนในอก กรดไหลย้อนทำให้ผู้ป่วยที่เป็นหอบหืด มีอาการบ่อยขึ้น และรุนแรงขึ้นได้
-
อาการ
-
วิเคราะห์
จากข้อมูลผู้ป่วยตรงกับโรคโรคหืด (Asthma) มากที่สุด คือ มีอาการ ไอ แน่นหน้าอก มีอาการหอบเหนื่อยเกิดขึ้นเมื่อได้รับสิ่งกระตุ้น เช่น ในการทำกิจกรรมจึงจะต้องพ่นยาเวลาที่ทำกิจกรรมจะทำให้หายเหนื่อย
จากทฤษฎีโรค asthma
จากข้อมูลผู้ป่วยตรงกับโรคโรคหืด (Asthma) มากที่สุด คือ มีอาการ ไอ แน่นหน้าอก มีอาการหอบเหนื่อยเกิดขึ้นเมื่อได้รับสิ่งกระตุ้น เช่น ในการทำกิจกรรมจึงจะต้องพ่นยาเวลาที่ทำกิจกรรมจะทำให้หายเหนื่อย
ตรวจร่างกาย
-
วิเคราะห์
จากการตรวจร่างกายของผู้ป่วยรายนี้คือพบมี suprasternal retraction ฟังปอดพบเสียง crepitation ทั้งสองข้างเล็กน้อยที่ตำแหน่ง lower lobe และพบเสียง twheezing ทั้งสองข้างชัดเจนบริเวณ upper lobe จากผล x-ray พบ infiltration lower lobe of both Jung และผลการตรวจ CBC พบว่า WBC = 3,000 ML (ค่าปกติ 4,000-1,000 Neutrophil = 75% (ค่าปกติ 55-7096) eosinophil = 59% (คปกติ 1-49%) ซึ่งตรงกับโรคหอบหืดมากที่สุด
จากทฤษฎีโรค asthma
จะพบว่าฟังปอดได้ยินเสียงหวีด (wheeze) แต่บางรายอาจตรวจไม่พบหรือได้ยินในขณะหายใจออกแรง ๆ ในรายที่มีอาการหืดรุนแรงอาจฟังปอดไม่ได้ยินเสียงหวีด แต่จะตรวจพบอาการอื่น ๆ เช่นซึมเขียว พูดไม่เป็นประโยคหัวใจเต้นเร็วหน้าอกโป่งหายใจหน้าอกปุ่ม
การตรวจพิเศษ
-
วิเคราะห์
จากข้อมูลผู้ป่วยสามารถคิดได้หลายโรค เนื่องจากมีการตรวจที่เป็นผลปกติ ซึ่งอาจเป็น โรคหืด ปอดบว COPDไข้เดงกี ไข้เลือดออกเดงกี ไข้หวัดใหญ่ โรคไทรอยด์อักเสบ กล้ามเนื้อหัวใจตาย ไข้หวัด
การรักษา
-
วิเคราะห์
จากข้อมูลผู้ป่วยตรงกับโรคโรคหืด (Asthma) มากที่สุด คือ มีอาการ ไอ แน่นหน้าอก มีอาการหอบเหนื่อยเกิดขึ้นเมื่อได้รับสิ่งกระตุ้น เช่น ในการทำกิจกรรมจึงจะต้องพ่นยาเวลาที่ทำกิจกรรมจะทำให้หายเหนื่อย
จากทฤษฎีโรค Asthma
การใช้ยาโดยแพทย์จะพิจารณาเลือกใช้ยาตามความรุนแรงของโรคและแนะนำให้ใช้ยาอย่างต่อเนื่องเพื่อควบคุมอาการไม่ให้เกิดโรคกำเริบ
1.1 ยาพ่นควบคุมอาการ (controller) ที่ต้องใช้เป็นประจำทุกวันจนกว่าแพทย์จะแนะนำให้หยุดการใช้ยา
•ยาต้านการอักเสบกลุ่มสเตียรอยด์แบบพ่นเป็นยาหลักในการรักษาที่มีประสิทธิภาพสูงสุด
•ยาต้านฤทธิ์ Leukotrierre
1.2 ยาบรรเทาอาการ (reliever) •ยาขยายหลอดลมสามารถออกฤทธิ์บรรเทาอาการหลอดลมตีบได้อย่างรวดเร็ว
- การเลี่ยงสารก่อภูมิแพ้และสารอื่น ๆ ที่อาจกระตุ้นให้เกิดอาการ
- การรักษาโรคร่วมที่สามารถพบได้ในผู้ป่วยกลุ่มนี้เช่นโรคเยื่อบุจมูกอักเสบจากภูมิแพ้ไซนัสอักเสบเป็นต้น
- การดูแลสุขภาพทั่วไปเช่นการออกกำลังกายที่เหมาะสมการนอนหลับให้เพียงพอและรับประทานอาหารที่มีประโยชน์