Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยการเรียนรูัที่ 3 การรักษาเบื้องต้นในกลุ่มอาการที่พบบ่อย…
หน่วยการเรียนรูัที่ 3 การรักษาเบื้องต้นในกลุ่มอาการที่พบบ่อย (เรื่องอาการปวดศีรษะที่พบบ่อย) นางสาวสุพัตรา ปุริจันทร์ รหัส601410053-6
CLASSIFIED 3 กลุ่ม
- Primary headache types :อาการปวดศีรษะแบบปฐมภูมิ เป็นอาการปวดศีรษะที่เกิดขึ้นจากความผิดปกติของระบบรับความรู้สึกปวดในสมองและระบบประสาท โดยไม่พบความผิดปกติจากการตรวจทางรังสีวิทยา
- Secondary headache types : เป็นอาการปวดศีรษะที่มีสาเหตุจากภายในสมอง เช่น เนื้องอกสมอง เลือดออกในสมอง หลอดเลือดดาในสมองอุดตัน การติดเชื้อในระบบประสาท การบาดเจ็บที่ศีรษะ แรงดันน้าในสมองสูงหรือต่ากว่าปกติ หรือมีสาเหตุจากอวัยวะภายนอกรอบๆศีรษะ
- painful ranial neuropathies, other facial pains and other headaches types:เป็นโรคปวดศีรษะที่เกิดจากความผิดปกติของเส้นประสาทสมอง เช่น อาการปวดศีรษะจากเส้นประสาทสมองคู่ที่ 5 (trigeminal neuralgia) อาการปวดเส้นประสาทสมองคู่ที่ 9 (glossopharyngeal neuralgia)
TENSION HEADACHE
-
• วินิจฉัยโดยอาศัยลักษณะการปวดชนิด กดหรือบีบ หรือ รัดแน่น อาการปวดมักเริ่มบริเวณท้ายทอย ร้าวมาที่ขมับทั้งสองข้าง
-
-
สาเหตุ
เกิดจากกล้ามเนื้อรอบศีรษะและคอเกิดการเกร็งตัวสาเหตุอาจจะเกิดจาก ความเครียด โรคซึมเศร้า ความวิตกกังวล งานที่ทาให้หน้าอยู่ในท่าหนึ่งนานๆจะทาให้เกิดการปวดศีรษะ เช่น การทางานหน้าคอมพิวเตอร์นานๆการนอนผิดท่า การนอนในห้องเย็นๆเหล่านี้เป็นตัวกระตุ้นให้ปวดศีรษะ สาเหตุอื่นๆคือ การใช้สายตามากเกินไป อ่อนเพลียจากการทางาน
การรักษา
กษาโดยให้ยาบรรเทาปวดร่วมกับยาคลายกล้ามเนื้อหรือยากล่อมประสาท ถ้าพบว่ามีโรควิตกกังวลหรือซึมเศร้าร่วมด้วย ก็จะให้การรักษาภาวะเหล่านี้ไปพร้อมกัน
ในรายที่มีอาการกาเริบมากกว่าสัปดาห์ละ 2 ครั้ง และแต่ละครั้งปวดนานมากกว่า 3-4 ชั่วโมง หรือปวดรุนแรง หรือต้องใช้ยาแก้ปวดบ่อยมาก แพทย์อาจให้ ผู้ป่วยกินยาป้องกัน เช่นAmitryptiline Fluoxitineทุกวันติดต่อกันนาน 1-3เดือน
MIGRAINE
ประเภท
-
ไมเกรนที่มีอาการเตือน ( Migraine with aura) อาการเตือนที่พบบ่อย ได้แก่ การมองเห็นผิดปกติ โดยจะเห็นแสงเป็นเส้นซิกแซกคล้ายฟันเลื่อย อาจจะมีหรือไม่มีสี หรือเห็นภาพมืดไปเป็นบางส่วน หรือมองเห็นภาพไม่ชัด หลับตาแล้วยังเห็นได้อยู่ หรือเห็นภาพบิดเบี้ยว ซึ่งอาการผิดปกติของการมองเห็นจะเคลื่อนที่อย่างช้าๆ
-
-
สาเหตุ
เกิดจากความผิดปกติของระบบไฟฟ้าที่ผิวสมอง ทาให้สมองเกิดการกระตุ้นได้ง่ายและไวกว่าคนปกติ หลังจากสมองถูกกระตุ้นแล้ว จะเกิดกระแสไฟฟ้าวิ่งไปตามผิวของสมองอย่างช้าๆ(ทาเกิดอาการการเตือนขึ้นมา) กระแสไฟฟ้าที่เกิดขึ้นนี้ทาให้การไหลเวียนของเลือดในสมองเปลี่ยนแปลงไป และยังไปกระตุ้นเส้นประสาทสมอง ทาให้เกิดการหลั่งสารสื่อประสาทบางชนิด มีผลทาให้หลอดเลือดสมองเกิดการขยายตัวและเกิดการอักเสบขึ้น
อาการ
จะมีอาการปวดศีรษะข้างเดียว อาจย้ายข้างได้ แต่มักเป็นทีละข้าง ลักษณะการปวดเป็นแบบตุ้บๆ (คล้ายเส้นเลือดเต้น)
อาการร่วมอื่นๆที่พบร่วมกับอาการปวดศีรษะ คือ อาการคลื่นไส้ หรืออาเจียน มีอาการไวต่อแสง ไม่อยากเห็นแสงจ้า และไม่อยากได้ยินเสียงดัง
ระยะ
- ระยะที่มีอาการปวดศีรษะเฉียบพลัน
• ใช้เฉพาะเวลามีอาการปวดศีรษะเท่านั้น และให้รับประทานยาหลังจากที่เริ่มมีอาการปวดศีรษะทันที จะได้ผลในการรักษาอาการปวดศีรษะที่ดี
• ยาแก้ปวด เช่น พาราเซตามอล, ยาลดการอักเสบที่ไม่ไช่สเตียรอด์ (NSAIDs) เป็นต้น
• ยาที่เฉพาะเจาะจงกับไมเกรน เช่น ยากลุ่มทริปแทน (triptan) triptan) หรือ ยาที่มีส่วนผสมของเออโกทามีน (ergotamine) ซึ่งออกฤทธิ์ที่เส้นเลือดสมองโดยตรง
-
- ระยะที่ไม่ปวดศีรษะ (ยาป้องกันอาการปวดศีรษะไมเกรน)
-
• กลุ่มยากันชัก เช่น Topiramate, Valproic acid
• กลุ่มยาปิดกั้นตัวรับแคลเซียม เช่น Flunarizine, Cinnarizine, Verapami
• กลุ่มยาปิดกั้นตัวรับเบต้า เช่น Propanolol , Atenolol, Metoprolol, ,
เช่น Amitriptyline, Nortriptyline,Duloxetine, Velafaxine เป็นต้น กรณีมีอาการปวดศีรษะไมเกรนในช่วงมีประจาเดือน สามารถรับประทานยา ยาลดการอักเสบที่ไม่ไช่สเตียรอด์ หรือ ยากลุ่มทริปแทน ในช่วงก่อนมีประจาเดือนประมาณ 2-3วัน และรับประทานยาต่อจนหมดประจาเดือน 4-5วัน
CLUSTER HEADACHE
-
อาการ
-
-
-
ปวดตอนกลางคืนจนต้องลุกขึ้นมา ลักษณะปวดคล้ายถูกเข็มแทง
• ถ้าไม่ได้รักษาอาการปวดจะเป็นอยู่นาน 15-180นาที (เฉลี่ยประมาณ 1ชั่วโมง)
-
-
-
SECONDARY HEADACHE TYPES
-
อาการปวดศีรษะเริ่มในอายุมากกว่าหรือเท่ากับ 40 ปีหรือมีการเปลี่ยนแปลงลักษณะปวดศีรษะไปจากเดิมการเปลี่ยนแปลงท่าทำให้เกิดอาการปวดศีรษะ•มีอาการปวดศีรษะในขณะหลับหรือตื่นนอนใหม่ ๆ
-
-