Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4.3 การพยาบาลมารดาที่มี ภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอด - Coggle Diagram
บทที่ 4.3 การพยาบาลมารดาที่มี
ภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอด
1
. ภาวะถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
(PORM)
:<3:
ความหมาย
การมีถุงน้ำคร่ำรั่วหรือแตกขึ้นเอง ก่อนเข้าสู่ระยะเจ็บครรภ์จริง
ไม่ว่าจะเกิดขึ้นก่อนหรือเมื่ออายุครรภ์ครบกำหนด
:<3:
สาเหตุ
การติดเชื้อทำให้เกิดถุงน้ำคร่ำอ่อนแอและเกิดการแตกหรือรั่วได้
เคยมีประวัคิคลอดก่อนกำหนดหรือถุงน้ำคร่ำแตกก่อนเจ็บครรภ์
ครรภ์แฝด ครรภ์แฝดน้ำ ทารกในครรภ์มีท่าหรือส่วนนำผิดปกติ มี CPD
มดลูกพิการแต่เกิด มีการอักเสบเรื้อรังของ UT
มีประวัติการทำหัตถการต่างๆ เพื่อการวินิจฉัยทารกในครรภ์
มีเศรษฐานะต่ำ สูบบุหรี่ขณะตั้งครรภ์
:<3:
การวินิจฉัย
มีประวัติน้ำไหลออกช่องคลอด
ตรวจทางช่องคลอดโดยใช้ Speculum และให้หญิงตั้งครรภ์ไอ
เก็บน้ำที่ได้จาก Posterior fornik ตรวจ Nitrazine test ถ้าเป็นน้ำในช่องคลอดฤทธิ์เป็นกรด pH 4.5 - 6.0 กระดาษที่เป็น
สีเหลืองหรือเขียวอ่อนจะไม่เปลี่ยนสี ถ้ามีฤทธิ์เป็นด่าง pH 7.0 -7.5 กระดาษจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำเงิน การตรจ Fern test
(Aborization) เป็นการตรวจน้ำที่ได้ ถ้าเป็นน้ำคร่ำจะตกผลึกเป็นรูปใบ Fern
การตรวจ Ultrasound การตรวจดูปริมาณน้ำคร่ำในถุงน้ำคร่ำ
:<3:
ผลกระทบ
มารดา
การติดเชื้อที่เยื่อหุ้มหารก (Chorioamnionitis)
ตรวจเลือดพบเม็ดเลือดขาวสูงขึ้น
การเจ็บครรภ์คลอดระยะที่2 ของการคลอดยาวนาน กลไกการเกิด
Internal rotation และ Extension หยุดชะงัก เกิดการคลอดแห้ง
ทารก
การติดเชื้อจากถุงน้ำคร่ำแตกเป็นเวลานาน
มีภาวะหายใจล้มเหลวจากคลอดก่อนกำหนด
เกิดภาวะขาดออกซิเจนจากสายสะตือพลัดต่ำ
สายสะดือถูกกดทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์และมีความพิการของหน้าแขนขาของทารก
:<3:
การรักษา
ให้ยาปฏิชีนะในรายที่มี BT > 38 ํc
กระตุ้นให้เกิดการเจ็บครรภ์คลอด ถ้านานมากกว่า 4 hr ควรผ่าตัดคลอดทารกออกทางหน้าห้อง
รายที่ไม่มีการติดเชื้อ GA น้อยกว่า37 weeks ให้นอนพักในโรงพยบาลเฝ้าระวังการติดเชื้อ
ตรวจ CBC ตรวจ UA ประมินV/Sและ FHS ทุก 4 hr
งด PV เมื่อ GA 37 weeks และไม่มีการติดเชื้อจึงกระตุ้นให้เกิดการคลอด
2. ภาวะเจ็บครรภ์คลอด
ก่อนกำหนด (Preterm labour)
:star:
ความหมาย
การเจ็บครรภ์คลอดตั้งแต่สัปดาห์ที่ 28 ไปจนก่อนอายุครรภ์ครบสัปดาห์ที่ 37
โดยมีการหดรัดคตัวของมดลูกอย่างน้อย 1 ครั้ง ทุก 10 นาที นานมากหรือ
เท่ากับ 30 วินาที ร่วมกับมีการเปลี่ยนแปลงของปากมดลูก
:star:
สาเหตุ
มารดา
อายุน้อยกว่า 19 ปี หรือมากกว่า 35 ปี
ฐานะทางเศรษฐกิจและภาวะทางสังคมต่ำ
ครรภ์แรก
สูบบุหรี่อย่างน้อยวันละ 10 มวน การใช้สารสพติด
การทำงานหนัก การยกของหนัก การยืนเป็นเวลานานๆ
มีภาวะเครียด ความวิตกกังวล
การเกิดภาวะแทรกช้อนในระยะตั้งครรภ์ เช่น การตกเลือดก่อนคลอด
รกเกาะต่ำ รถลอกตัวก่อนกำหนด
ทารก
ทารกมีความพิการแต่กำเนิด
fetat distress
ทารกโตช้าในครรภ์ หารกตายในครรภ์
ทารกติดเชื้อจากมารดาผ่านทารก เช่น หัตเยอรมัน ซิฟิลิส
:star:
อาการและ
อาการแสดง
มดลูกมีการหตรัดตัวอย่างน้อย 1 ครั้งใน 10 นาทีและหดรัดตัว
นานอย่างน้อย 30 วินาที
ปากมดลูกมีการบางตัวและเปิดขยาย
นอกจากนั้นยังมีอาการร่วม ได้แก่ มีมูกปนเลือดออกทาง
ช่องคลอด ปวดหลังส่วนล่าง
:star:
การวินิจฉัย
1. การซักประวัติ
อาจเคยมีประวัติคลอดก่อนกำหนดในครรภ์ก่อน
มดลูกมีการหดรัดตัว มีมูกปนเลือดออก ปวดหลังส่วนล่าง
รู้สึกหน่วงบริเวณอุ้งเชิงกราน
2. การตรวจร่างกาย
พบมดลูกหดรัดตัวอย่างน้อย 1ครั้งใน 10 นาที
และหดรัดตัวนานอย่างน้อย 30 วินาที ปากมดลูกบางตัวอย่างน้อย 80 %
และมีการเปิดขยายมากกว่า 1 cm
3. การตรวจหางห้องปฏิบัติการ
ได้แก่ การตรวจ fetal fibronectin
:star:
ผลกระทบ
มารดา
เกิดการคลอดก่อนกำหนด โดยไม่สามารถยับยั้งได้
การถูกจำกัดให้นอนอยู่บนเดียงเป็นเวลานานมีผลกระทบ
ต่อจิตใจของมารดทำให้เครียด เบื่อหน่าย
ทารก
ทารกแรกเกิดมีโอกาสเกิดภาวะการหายใจล้มเหลว
:star:
การรักษา
การประคับประครองไห้การตั้งครรภ์ดำเนินต่อไป มีเกณฑ์การพิจารณา ดังนี้
GA 28-37สัปดาห์
ปากมดลูกเปิดน้อยกว่า 4 cm
ถุงน้ำคร่ำยังไม่แตก
ไม่มีภาวะติดเชื้อภายในโพรงมดลูกหรือเลือดออกทางช่องคลอด
โดยมีแนวปฏิบัติ ดังนี้
1.1 นอนพักอย่างเต็มที่เพื่อลดการกดทับของทารกที่มีต่อปากมดลูก นอนตะแคงซ้าย เพื่อช่วยให้เลือดไปเลี้ยงมดลูกมากขึ้น
1.2 การให้ยายับยั้งการหดตัวของมดลูก กลุ่ม Tocolytic agent ที่นิยมคือ Terbutaline
3. การตั้งครรภ์เกินกำหนด
(Post term pregnancy)
:recycle:
ความหมาย
การตั้งครรภ์ที่มีอายุครรภ์มากกว่าหรือเท่ากับ
42 สัปดาห์ หรือตั้งแต่ 294 วันขึ้นไป
:recycle:
สาเหตุ
เกิดจากความผิดปกติของการสร้างสาร prostaglandin หรือจากปากมดลูก
ไม่ตอบสนองต่อสาร prostaglandin
การคำนวณอายุครรภ์ที่ผิดพลาดจากการจำวันแรกของประจำเดือนสุดท้ายผิด
3.ปัจจัยด้านอายุ พบมากในหญิงตั้งครรภ์อายุน้อยกว่า 25 ปี หรือมากกว่า 35 ปี,
ตั้งครรภ์แรก, มีประวัติการตั้งครรภ์เกินกำหนด, มีภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์
ทำให้รกเสื่อมเร็ว เช่น Pre - eclampsia เลือดที่มาเลี้ยงมดลูกไม่เพียงพอ,
มีความวิตกกังวลสูง
ปัจจัยด้านทารก เช่น ทารกที่ลไม่มีต่อมใต้สมอง, ต่อมหมวกไตฝ่อ, สมองเล็ก
:recycle:
อาการและ
อาการแสดง
ปริมาณน้ำคร่ำลดลงจากรกเสื่อม ทำให้มดลูกมีขนาดเล็กลง
วัดขนาดรอบท้องได้เล็กลง ยอดมดลูกสูง ไม่ได้สัดส่วนกับ
อายุครรภ์ คลำพบทารกได้ชัดเจนและดิ้นน้อยลง มารดา
น้ำหนักลดลงมากกว่า 1 kg ในสัปดาห์สุดท้าย
:recycle:
ผลกระทบ
มารดา
คลอดยากระยะที่1 และระยะที่2 การคลอดยาวนาน การได้รับ
การช่วยคลอดโดยใช้หัตถการ ตกเลือดหลังคลอค ได้รับความ
กระทบกระเทือนด้านจิตใจจากความไม่สุขสบายต่างๆ
ทารก
เกิดภาวะขาดออกซิเจน , Cord compression , IUGR,
oligohydramnios , ได้รับอันตรายจากการช่วยคลอด
:recycle:
การรักษา
ตรวจสอบอายุครรภ์ตั้งแต่การฝากครรภ์ครั้งแรก
กระตุ้นการเจ็บครรภ์คลอดโดยให้ prostaglandin
เหน็บช่วงคลอดเพื่อทารกคลอดก่อนกำหนด ติดตามฟังเสียงหัวใจทารกตลอดระยะการคลอด
4. ทารกโตช้าในครรภ์
(IUGR)
:fire:
ความหมาย
ภาวะที่ทารกมีอัตราการเจริญเติบโตช้ากว่าปกติระหว่างอยู่ใน
ครรภ์มารดา (ทารกที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเปอร์เซ็นไทล์ที่ 10
ของอายุครรภ์นั้นๆ
:fire:
ประเภท
1.การเจริญเติบโตช้าแบบได้สัดส่วน
หมายถึง ทารกที่มีการเจริญเติบโตช้า
ทุกส่วนของร่างกาย HC/AC Ratio อยู่ในเกณฑ์ปกติ
2. การเจริญเติบโตช้าแบบผิดสัดส่วน
หมายถึง ทารกที่มีอัตราการโตของท้อง
ช้ากว่าปกติ ขณะที่รอบศีรษะโตในอัตราปกติ มีผลให้อัดราส่วนของรอบศีรษะต่อ
รอบท้องมากกว่าปกติ
3. การเจริญเติบโตช้าแบบผสมผสาน
หมายถึง ทารกที่มีภาวะการเจริญเติบโตช้า
แบบได้สัดส่วนและการเจริญเติบโตช้าแบบผิดสัดส่วน
:fire:
สาเหตุ
มารดา
น้ำหนักมารดาขึ้นน้อย ภาะโลหิตจางรุนแรง
ภาวะขาดออกซิเจนเรื้อรัง ความดันโลหิตสูง โรคไต โรคเบหวาน
ทารก
การติดเชื้อในครรภ์ ความผิดปกติของโครโมโชม
ความพิการแต่กำเนิด
รก
รกเสื่อมสภาพ รกลอกตัวก่อนกำหนด รกเกาะต่ำ
:fire:
ผลกระทบ
มารดา
เพิ่มอัตราการผ่าตัคคลอด สิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย
เพิ่มภาระในการเลี้ยงดู ส่งผลกระทบต้านจิตใจ
ทารก
น้ำตาลในเลือดดำ, แคลเซียมในเลือดต่ำ, ความเข้มข้นของ
เลือดสูง, บิลลิรูบินในเลือดสูง, สูดสำลักขี้เทา, เสี่ยงติดเชื้อ
:fire:
อาการและ
อาการแสดง
ตรวจพปริมาณเลือดที่ออกทางช่องคลอดมากกว่า
500 CC วัดสัญญาณชีพพบ BP ต่ำ PR เบาเร็ว
ซีดมาก มดลูกหดรัดตัวไม่ดี รกลอกตัวช้า
:fire:
การดูแลรักษา
ระยะก่อนคลอด
ตรวจหาปัจจัยเสี่ยงและแก้ไขสาเหตุของ IUGR แนะนำให้นอนพัก
ตรวจติดตามการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์
ระยะคลอด
ตัดสินใจให้คลอดโดยดูปัจจัยสำคัญ คือ อายุครรภ์ สุขภาพทารกและความรุนแรง
ของโรคเลือด วิธีการคลอดทางช่องคลอด ผ่าตัดคลอดหากมีข้อบ่งชี้
ระยะหลังคลอด
เตรียมการป้องกันและแก้ไขภาวะแทรกซ้อนต่างๆเช่นดูดเอา secretion ออก
รีบตัดสายสะดือ รีบตัดสายสะดือป้อง รีบตัดสายสะดือป้องกันเลือดไหลเข้าตัวทารก
มากเกินไป ตรวจร่างกายค้นหาการติดเชื้อในครรภ์และความพิการแต่กำเนิด
ระวัง ภาวะ hypoglycemia