Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 การพยาบาลมารดาที่ทำ สูติศาสตร์หัตถการ (ต่อ) - Coggle Diagram
บทที่ 7 การพยาบาลมารดาที่ทำ
สูติศาสตร์หัตถการ (ต่อ)
5. External cephalic version
:star:
ความหมาย
การหมุนกลับทารกเป็นการหมุนเปลี่ยนท่าของทารกในครรภ์จาก
ท่าอื่นมาเป็นท่าศีรษะ โดยทำผ่านทางหน้าท้องมารดา
:star:
ข้อบ่งชี้
ครรภ์เดี่ยว
ไม่มีภาวะแทรกข้อนระหว่างตั้งครรภ์
อายุครรภ์ตั้งแต่ 37 สัปดาห์ขึ้นไป
:star:
วิธีการหมุนเปลี่ยนท่าทารกในครรภ์
ทำในห้องคลอดหรือสถานที่ที่สามารถทำผ่าตัดคลอดฉุกเฉินได้สะดวก
มีวิธีการทำ คือ ให้ปัสสาวะออกให้หมด
จัดให้นอนหงายราบบนเคียง
ตรวจครรภ์ประเมินสภาพทารก ทำ NSTทำ U/S
ประเมินสภาพทารก น้ำคร่ำและรก
ให้ยาระงับการหดรัตตัวของมดลูก
ทำการหมุนเปลี่ยนท่าทารกโดยนิยมเริ่มตัวยการหมุนไปข้างหน้า (forward roll or
forward somersault แพทย์จะทำโดยใช้ ultrasonography บันทึกการเต้นของหัวใจ
ทารกตลอด และใช้ยาระงับการหดรัดตัวของมดลูก คือ tebutaine ช่วยในการหมุนกลับทารก
:star:
ภาวะแทรกซ้อน
หัวใจทารกเต้นช้า (fetal bradycardia)
มารดาและทารกมีเลือดออกผิดปกดิ (fetomatemat hemorhage)
ภาวะอื่นที่อาจพบได้ เช่น รกลอกตัวก่อนกำหนด มดลูกแตก
สายสะดือพันกัน
8. Breech delivery
:explode:
ความหมาย
การช่วยเหลือทารกท่าก้นให้สามารถคลอด
ทางซ่องคลอดได้โดยปลอดภัย
:explode:
ชนิดของการช่วย
คลอดทารก
Spontaneous breech delivery การเบ่งคลอดทารกเอง
โดยไม่ต้องดึง เพียงแต่คอยจับประคอง จะสิ้นสุดภายใน 8-10 นาที
นับจากระดับสะดือของทารกพ้นปากซ่องคลอดออกมา
Partiat breech extraction (breech assisting) การเบ่งคลอดทารกเอง
จนถึงระดับสะดือ ผู้ทำคลอดช่วยดึงทารกออกมาตามกลไกของการคลอด
สิ้นสุดภายใน 8-10 นาที
Total breech extraction (complet breech extacton) ผู้ทำคลอด
จะช่วยคลอด โดยการดึงทารกทั้งตัว มีโอกาสกิดอันตรายได้มาก
จึงควรเลือกใช้เมื่อมีข้อบ่งชี้เท่านั้น
:explode:
ชนิดของ
การคลอดท่าก้น
Complete breech ทารกจะอยู่ในท่าขัดสมาธิ
มือกอดอก และก้นเป็นส่วนนำ
Incomplete breech ท่ากันที่ส่วนใดส่วนหนึ่งของขาอยู่
ต่ำกว่ากระดูกก้นกบ แบ่งเป็น
Frank breech ทารกงอขา ส่วนสะโพกและขาทั้ง2 ข้าง
เหยียดตรงมาทางด้านหน้าทาบขนานไปกับลำตัว
:explode:
อันดรายจาก
การคลอดท่าก้น
ด้านมารดา
ติดเชื้อเนื่องจากถุงน้ำคร่ำแตกก่อนการเจ็บครรภ์
อ่อนเพลียจากการคลอคยาวนาน
การฉีกขาดของช่องคลอคจากการทำสูคิศาสตร์หัตถการ
ตกเลือดหลังคลอค
ด้านทารก
เลือดออกในสมอง
กระดูกหัก
อันตรายต่ออวัยวะภายในช่องท้อง
Erb Duchenne paralysis
กล้ามเนื้อ Sternomastoid ฉีกขาด
ถ้าหายแล้วจะดึงรั้งให้คอเอียง
:explode:
การพยาบาล
- ระยะที่ 1
อธิบายให้เข้าใจถึงความผิดปกติของท่าทารกและแผนการรักษา
แนะนำให้นอนพักบนเคียงเพื่อป้องกันภาวะถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
ประมิน FHS ทุก 30 นาที ในระยะ Latent ทุก 15 นาที ในระยะ Active
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกตามระยะของการคลอค
งด PV ประมินความก้าวหน้าของการคลอด
ให้ได้รับสารน้ำทาง IV และส่งตรวจเลือด Hct หมู่เลือด และเตรียมเลือด
ประเมินความเจ็บปวด ให้การช่วยเหลือ
- ระยะที่ 2
เตรียมเครื่องมือช่วยลอด เช่น Piper forceps และอุปกรณ์
ช่วยฟื้นคืนชีพทารก
จัดให้อยู่ในท่า Lithotomy ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธ์ / สวนปัสสาวะ
ประเมิน FHS ทุก 5 นาที ถ้าผิดปกติรายงานให้แพทย์ทราบ
ช่วยดันยอดมตลูกเมื่อมดลูกหดรัดตัวและมีแรงเบ่งเพื่อช่วยให้ตัวทารก
และศีรษะก้มเมื่อทารกเกิด ประเมินสภาพร่างกายและให้การดูแล
- ระยะที่ 3
ประเมิน V/S ทุก 15 นาที 4 ครั้ง ทุก 30 นาที 2 ครั้ง ทุก 1 ชั่วโมง จนกว่าจะปกติ
ให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมตลูก/สารน้ำทางหลอดลือดดำตามแผนการรักษา
ถ้ารกไม่คลอดใน 30 นาที หรือมีการเสียลือดเกิน 400 m. เตรียมมารดาเพื่อล้วงรก
ประเมินปริมาณลือดที่ออกจากซ่องคลอด / แผลฝีเย็บ
ประเมินการหดรัดตัวของมลูก นำกระเป๋าน้ำแข็งมาวางบริเวณยอดมตลูก
:explode:
การผ่าตัดคลอดทาง
หน้าท้องทารกท่าก้น
รายที่มีข้อบ่งชี้ที่อาจเกิดอันตรายต่อมารดาและทารก ได้แก่ ครรภ์แรกมีอายุ >35ปี, ประวัติคลอดยาก,
CPD หรือเชิงกรานผิดรูป, ประเมินน้ำหนักทารกในครรภ์เกิน 3,500 gm, ทารกมีเท้าเป็นส่วนนำ,
ทารกศีรษะแหงน, อายุครรภ์เกินกำหนด, ระยะการคลอดยาวนาน, PROM > 12 ชั่วโมง
6. การล้วงรก
:red_flag:
สาเหตุ
มดลูกไม่หครัดตัว (Uterine atony)
มีการหดรัดตัวผิดปกติของปากมดลูก (Contraction of cervix or cevical cramp)
รกฝังตัวลึกผิดปกติ (Placenta adherens) แบ่งเป็น Placenta accrete (รกฝังตลอด
spongiosa แต่ไม่ถึงกล้ามเนื้อมดลูก), Placenta increta (รกฝังลึกถึงชั้นกล้ามเนื้อมดลูก),
Placenta percreta (รกฝังลึกตลอดชั้นกล้ามเนื้อมดลูกจนถึง serosa)
:red_flag:
ข้อบ่งชี้
รกค้างเกิน 30 นาที หลังทารกคลอด มีเลือดออกไม่ควรเกิน 400 ml
มีเลือดออกมากหลังทารกคลอด เกิน 400 ml ไม่คำนึงถึงระยะเวลา
รายต้อง explore uterine cavity หลังทารกคลอด เช่น Previous
C/S หรือมีแผลผ่าตัด จากเหตุอื่นๆ ที่มดลูก
:red_flag:
ขั้นตอน
การล้วงรก
การเตรียมผู้ป่วย
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ โดยใช้เข็มเบอร์ใหญ่
จองเลือด ประเมินสัญญาณชีพ
เตรียมการให้ยาระงับความรู้สึก
จัดท่า Lithotomy ทำความสะอาดบริเวณรอบ
ช่องทางคลอด
ปูผ้าปราศจากเชื้อ สวนปัสสาวะ
การดูแลหลังล้วงรก
ประเมินสัญญาณชีพ ทุก 15 นาที ใน 1-2 ชั่วโมงแรก
ประเมินเลือดที่ออกทางช่องคลอด Hct
ดูแลให้ไดัรับ Oxytocin ผสมใน Fluid Iv drip ต่อเพื่อป้องกันตกเลือด
ดูแลกระเพาะปัสสาะไม่ให้เต็ม
ให้ยาปฏิชีวนะป้องกันการติดเชื้อ
วิธีการล้วงรก
ใส่ถุงมีอยาว เช็ดสายสะคือด้วยยาฆ่าเชื้อเพราะอาจปนเปื้อน
ระหว่างทำคลอด
เริ่มล้วงรกเมื่อผู้คลอดได้ยาระงับความรู้สึกแล้ว โดยสอดมือ
ที่ถนัคตามสายสะดือผ่านปากมดลูกไปจนถึงตำแหน่งที่สายสะดือ
เกาะติดกับรก
เลื่อนมือมาที่ขอบรก เซาะแยกเนื้อรกออกจากผนังมดลูกจนรก
ลอกได้หมดทั้งอัน (ถ้า Placenta increta หรือ Placenta percreta
อาจเซาะออกได้ยากต้องหยุดและรักษาโดยการตัดลูก)
คลึงยอดมดลูกเพื่อให้มดลูกบีบไล่รก ซึ่งมือจับอยู่ให้เคลื่อน
ผ่านโพรงมดลูกออกมา ไม่ควรดึงรกออกทันทีเพราะจะทำให้มดลูกปลิ้นได้
ตรวจโพรงมดลูกว่ามีเศษรกหรือเยื่อหุ้มทารกค้างหรือไม่
ตรวจรกและเยื่อหุ้มทารกที่ออกมาภายนอก คลึงมดลูกให้หดรัดตัวและให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก คือ Merthergine 0.2 mg.
IM หรือ V กรณีไม่มีข้อห้าม ให้ Oxytocin 20 unit ใน Fluid
1,000 ml IV drip เย็บซ่อมฝีเย็บ
:red_flag:
ภาวะแทรกช้อน
ติดเชื้อ
ตกเลือดจากมีเศษรกค้าง
มดลูกปลิ้น
มดลูกทะลุ
การฉีกขาดของ fornix จากการทำไม่ระวัง
ล้วงรกไม่ออกหรือออกไม่หมดจากรกฝังลึกผิดปกติ
7. การทำคลอดในภาวะฉุกเฉิน
:warning:
ความหมาย
คือ การเจ็บครรภ์และการคลอดทารกภายใน 3 ชั่วโมง
การเจ็บครรภ์ที่เปิดมดลูกเปิดขยายมากกว่า 5 cms/hr
ในการคลอดครั้งแรก และเปิด 10 ms/hr ในการคลอดครั้งหลัง
:warning:
ผลกระทบ
ทารก
ขาดออกชิเจนจากมดลูกหดรัดตัวรุนแรง
บาดเจ็บต่อสมอง
เกิด Erb หรือ Duchenne brachial palsy
มารดา
อาจเกิดมดลูกแตก
การฉีกขาดของข่องทางคลอค
amniotic fluid embouism
ตกเลือดหลังคลอด
:warning:
การพยาบาล
ซักประวัติการคลอด เมื่อพบประวัติคลอดเฉียบพลัน
ต้องดูแลอย่างระมัดระวัง ประเมินความก้าวหน้าอย่างใกล้ชิด
พิจารณาย้ายเข้าห้องทำคลอดเมื่อปากมตลกเปิด 5-6 cm
ป้องกันการตกเลือดระยะหลังคลอด