Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาที่มี ปัญหาสุขภาพ :red_flag…
บทที่ 8 การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาที่มี ปัญหาสุขภาพ
:red_flag:ในระยะหลังคลอด
ภาวะติดเชื้อหลังคลอด (Puerperal Infection)
การติดเชื้อบริเวณฝีเย็บ (Localizied infection)
สาเหตุ
การปนเปื้อนของแบคทีเรียขณะคลอด
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือดดำ
เปิดแผลให้กว้างขึ้นเพื่อให้ฝีหนองไหลออกได้สะดวก
ใส่สายสวนปัสสาวะในกรณีที่ปัสสาวะลำบาก
ในรายที่แผลฝีเย็บแยกทำการเย็บซ่อมแซม
การพยาบาล
ติดตามประเมินแผลฝีเย็บทุกวัน
ดูแลทำความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
เมื่อแผลติดดีขึ้น ให้นั่งแช่ก้นวันละ 2 - 3 ครั้ง
ดูแลให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษา
กระตุ้นให้ลุกเดินบ่อย ๆ
แนะนำให้เปลี่ยนผ้าอนามัยบ่อย ๆ เมื่อชุ่ม
ตรวจและบันทึกสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
ให้กำลังใจอธิบายถึงพยาธิสภาพของการติดเชื้อบริเวณฝีเย็บ การรักษา และการปฏิบัติตน
การอักเสบของเยื่อบุโพรงมดลูก (Endometritis , Metritis)
สาเหตุ
การตรวจภายใน
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนการเจ็บครรภ์จริง
การเจ็บครรภ์คลอดที่ยาวนาน
การผ่าตัดที่มดลูก
การตรวจ Internal electrical monitoring
การรักษาให้ยาปฏิชีวนะ
คำนึงถึงชนิดของยาต้องเลือกให้ตรงกับเชื้อ
และขนาดของยาซึ่งอาจต้องเพิ่ม
เลือกใช้ยาที่มีอ านาจท าลายเชื้อทั้ง 2 ประเภท ทั้งชนิด aerobe และ anaerobe
penicillin ร่วมกับ aminoglycoside
penicillin กับ tetracycine
penicillin กับ cepharosporin
การพยาบาล
แนะนำและดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ดูแลให้นอนพักผ่อนมากที่สุด
แนะนำให้งดการมีเพศสัมพันธุ์ และงดสวนล้างช่องคลอด
ดูแลให้รับประทานอาหารให้เพียงพอ และมีคุณภาพ
จัดให้นอนท่า fow ler’s
ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษา
ป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อ อาจต้องแยกหญิงหลังคลอด
แนะนำการทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์
การอักเสบของเยื่อบุในอุ้งเชิงกราน (Parametritis , Pelvic cellulitis)
สาเหตุ
มีการติดเชื้อที่ช่องคลอด หรือปากมดลูก
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือด
broad - spectrum antibiotic
การพยาบาล
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะ
คลำหน้าท้องเพื่อดูอาการกดเจ็บ ดูผ้าอนามัยและบริเวณฝีเย็บ สี กลิ่น และอาการบวมเลือด สัญญาณชีพ
จัดท่าให้นอน Semi - fowler
ดูแลให้ได้รับน้ำ ประมาณวันละ 3,000 - 4,000 มิลลิลิตร
การอักเสบของเยื่อบุช่องท้อง (Peritonitis)
สาเหตุ
มีการอักเสบติดเชื้อในโพรงมดลูก
แผลผ่าตัดในมดลูกแยกหรือเนื้อเน่าเปื่อย
การอักเสบของเยื่อบุในอุ้งเชิงกราน
ฝีที่ท่อนำไข่และรังไข่แตก
การรักษา
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำให้เพียงพอ
ให้ gastric suction
งดน้ำและอาหารทางปาก
ให้สารต้านจุลชีพหลายอย่างรวมกันให้เหมาะสม
ถ้าอาการไม่ดีขึ้นอาจต้องตัดมดลูก
การพยาบาล
ตรวจและบันทึกสัญญาณชีพ
จัดท่าให้นอน Semi - fowler
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวินะ และสารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ประเมินเสียงการเคลื่อนไหวของลำไส
ดูแลให้ยาแก้ปวด ตามแผนการรักษา
แนะนำการรักษาความสะอาด
มดลูกกลับสู่สภาพปกติช้า (Subinvolution of uterus)
สาเหตุ
ความตึงตัวของการหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูกไม่ดี
มีเศษรก หรือเยื่อหุ้มรกค้างในโพรงมดลูก
มีการอักเสบติดเชื้อของเยื่อบุโพรงมดลูก
มารดาหลังคลอดที่ไม่ได้เลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา
มดลูกคว่ำหลังหรือคว่ำหน้ามากจนทำให้น้ำคาวปลาไหลไม่สะดวก
เนื้องอกของมดลูก
การรักษา
ให้ยาช่วยการบีบตัวของมดลูก นิยมให้ methergin 0.2 มิลลิกรัม
ให้ยาปฏิชีวนะถ้ามีการอักเสบ
ถ้ามีรกและเศษเยื่อหุ้มรกค้างในโพรง มดลูกให้ขูดมดลูก
การพยาบาล
คลึงมดลูกให้หดรัดตัวก่อนวัดระดับยอดมดลูก และดูแลให้กระเพาะปัสสาวะว่าง
แนะนำวิธีที่ทำให้น้ำคาวปลาไหลได้สะดวก เช่น ให้นอนคว่ำใช้หมอนรองใต้ท้องน้อย ลุกเดิน
ปัญหาหัวนมและเต้านม
หัวนมแตก หรือเป็นแผล
สาเหตุ
การแกะ
ทารกดูดนมแรงและนานเกินไป
เหงือกของทารกกดลงบนลานนมขณะดูดนม
ให้ข้างเดียวกันตลอด
จึงทำให้ดูดเป็นเวลานาน
การดึงหัวนมออกจากปากบุตรไม่ถูกวิธี
ปล่อยให้หัวนมเปียกชื้นอยู่ตลอด
การรักษา
kamillosan cream
unquentum boric acid
lanolin
การพยาบาล
แนะนำการทำความสะอาดไม่ฟอกสบู่ ไม่เช็ดหัวนม และลานนมด้วยสารระคายเคืองอื่น
แนะนำมารดาให้ทารกดูดนมข้างที่เจ็บน้อยก่อน
ประคับประคองศีรษะให้กระชับอกในขณะให้นม บุตร
แนะนำวิธีให้นมบุตร โดยให้บุตรอมหัวนมให้มิดและให้ลิ้นอยู่ใต้ลานนมให้เหงือกกดบริเวณ ลานนม ในระยะแรกให้นมแต่ละข้างไม่เกิน 3 - 5 นาที หรือ 5 - 10 นาทีในระยะหลัง
หลังการให้ทารกดูดนมแต่ละครั้ง ควรเช็ดหัวนมให้สะอาด
ใช้น้ำนมทา หัวนมและรอบ ๆ แล้วปล่อยให้ แห้งจะช่วยให้หายเร็วขึ้น
ใช้ nipple shield
ดูแลผิวหนังบริเวณหัวนมและเต้านมให้ชุ่มชื้น ด้วยการทาครีมลาโนริน หรือทาครีม
การติดเชื้อของเต้านม (Mastitis)
สาเหตุ
เชื้อ staphylococcus aureus
ไม่ได้ล้างมือให้สะอาด ก่อนสัมผัสเต้านม
การติดเชื้อที่อยู่ภายในจมูก และลำคอทารก
การรักษา
ส่งเพาะเชื้อ เพื่อให้ยาปฏิชีวินะตรงตามชนิดของเชื้อ
ให้ยาแก้ปวด
ถ้ามีหนองเกิดขึ้นให้ทำ incision and drainage
การพยาบาล
แนะนำการทำความสะอาดหัวนมให้เพียงพอ และให้ทารกดูดนมอย่างถูกต้องในข้างที่ปกติ
ดูดนมข้างที่มีการติดเชื้อ จนกว่าการอักเสบจะหาย
ลดการกระตุ้นเต้านมและหัวนมบริเวณที่มีการติดเชื้
แนะนำการสวมเสื้อชั้นใน หรือพันผ้า
อธิบายให้ทราบถึงการปฏิบัติตนที่ถูกต้อง
ภาวะแปรปรวนทางจิตหลังคลอด (Postpartal psychiatric disorder)
ภาวะซมึเศร้าหลงัคลอด (Postpartum depression)
สาเหตุ
ขาดประสบการณ์การเลี้ยงดูบุตร หรือได้รับประสบการณ์การ คลอดที่ไม่ดี
มีประวัติซึมเศร้าหลังคลอดหรือมีภาวะเจ็บป่วยหลังคลอด
มีความรู้สึกสองฝักสองฝ่ายในการตั้งครรภ์
ขาดการประคับประคองจากญาติ คู่สมรส หรือสังคม
ขาดความพึงพอใจในตนเอง
มีความเครียดทางจิตใจ
มีประสบการณ์จากการคลอดในครรภ์ก่อน ๆ ไม่ดี
การรักษา
การให้ยา
การรักษาทางจิต แบบรายบุคคล หรือรายกลุ่ม
การใช้กลุ่มช่วยในการรักษา หรือให้คู่สมรสบุคคลในครอบครัวมีส่วนร่วม
สนับสนุนและสร้างความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองให้แก่หญิงหลังคลอด
การพยาบาล
ดูแลให้มารดาหลังคลอดได้รับการพักผ่อนอย่างเพียงพอ
ดูแลความสุขสบายด้านร่างกาย
อธิบายให้ทราบถึงการเปลี่ยนแปลงของร่างกายแจะจิตใจหลังคลอด
ส่งเสริมให้กำลังใจ
แนะนำสามี และญาติ ให้กำลังใจแก่มารดา ให้ความสนใจ เอาใจใส่ประคับประคอง
สังเกตอาการดูแลอย่างใกล้ชิด
ภาวะจิตประสาทหลงัคลอด (Postpartum psychosis)
สาเหตุ
่มีประวัติเป็นโรคจิตหลังคลอด
มีประวัติเป็น manic-depressive
มีภาวะเครียดจากการตั้งครรภ์
่มีบุคลิกภาพแปรปรวนอยู่ก่อนการตั้งครรภ์
มีประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัวด้วยโรคทางจิตเวช
มีการเปลี่ยนแปลงของระดับฮอร์โมนในร่างกาย
การรักษา
การให้ยา antipsychotics และยา sedative , การช็อคไฟฟ้า
การทำจิตบำบัด
การรักษาโดยการแก้ไขสิ่งแวดล้อม
การพยาบาล
ดูแลให้ได้รับความต้องการพื้นฐานประจำวัน
รับฟังหญิงหลังคลอดให้ระบายความรู้สึก
ส่งเสริมและกระตุ้นให้เข้ากลุ่มจิตบำบัด
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
สง่ต่อเพื่อให้ คำปรึกษาจากเจ้าหน้าที่ทางสุขภาพจิต
อารมณ์เศร้าหลังคลอด
( depressed mood)
สาเหตุ
ตั้งครรภ์แรก หรือมีภาวะแทรกซ้อน
การเปลี่ยนแปลงระดับฮอร์โมนของต่อมไร้ท่อ จากการมีฮอร์โมน โปรเจสเตอโรน ลดลงอย่าง รวดเร็วในระยะหลังคลอด ร่วมกับการมีระดับของ estradiol cortisol และ prolactin ที่เพิ่มขึ้น
ความเครียดทางจิตใจในระยะหลังคลอด
หญิงที่มีวุฒิภาวะไม่สมบูรณ์
หญิงที่มีความเป็นคนเจ้าระเบียบ
การพยาบาล
ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการดูแลบุตร และตนเองในระยะหลังคลอด
ส่งเสริมให้บุคคลในครอบครัวโดยเฉพาะคู่สมรสช่วยให้กำลังใจ ประคับประคอง ช่วยเหลือกิจกรรมต่าง ๆ ในระยะหลังคลอด
คอยสังเกตและบันทึกอาการด้านอารมณ์ของมารดาหลังคลอด
นางสาววนิดา แสงสุริยา เลขที่ 78 รหัส 602701079