Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7การพยาบาลมารดาที่ได้รับการช่วยเหลือสูติศาสตร์หัตถการ,…
บทที่ 7การพยาบาลมารดาที่ได้รับการช่วยเหลือสูติศาสตร์หัตถการ
Forcep extraction
ข้อบ่งชี้
ด้านแม่
ผู้คลอดมีภาวะความดันโลหิตสูงระหว่างตั้งครรภ์
ผู้คลอดอ่อนเพลีย
ส่วนนำของทารกค่อนข้างใหญ่ หรือ Occiput อยู่ด้านหลัง หรือ Deep transverse arrest of head
ผู้คลอดมีสุขภาพไม่ดีจากโรคเรื้อรัง เช่น โรคหัวใจ, ไทรอยด์, หลอดลมอักเสบ
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี/มารดาไม่มีแรงเบ่ง
กระดูกเชิงกรานค่อนข้างแคบหรือ Rigid pelvic floor หรือ Rigid perineum
มีปัญหาเลือดออกในสมอง
ไส้ติ่งอักเสบ
ด้านทารก
สายสะดือพลัดต่ำ
Fetal distress
การทำเพื่อการรักษาและการป้องกัน
จำกัดปริมาณการเสียเลือดจากการคลอด
ป้องกันการฉีกขาดหรือยืดขยายมากเกินไปของฝีเย็บ
ช่วยลดความกดดันบางประการที่เกิดขึ้นกับผู้คลอดทั้งทางร่างกายและอารมณ์
ป้องกันสมองถูกทำลายจากภาวะพร่องออกซิเจน
การพยาบาล
การตรวจร่างกาย
ตรวจช่องทางคลอด
การตรวจร่างกายทั่วไปและสัญญาณชีพ
การตรวจทางหน้าท้อง
การประเมินสภาพทารกในครรภ
ภาวะจิตสังคม ได้แก่การประเมินความวิตกกังวลและหวาดกลัว
การซักประวัติได้แก่ ประวัติเกี่ยวกับอาการผิดปกติในการตั้งครรภ์และการ คลอดครั้งก่อน เช่น การคลอดติดขัด
ประเภทของคีม
Kielland Forceps เป็นคีมที่ใช้การหมุนของศีรษะทารกภายในอุ้งเชิงกราน ไม่มีPelvic curve แต่มี Sliding lock
Short Curve Forcep เป็นคีมที่ใช้ในกรณีศีรษะทารกมาอยู่ต่ำบริเวณฝีเย็บแล้วผู้ทำ
คลอดใช้แรงดึงน้อย และเกิดอันตรายน้อย
Long Curve Axis Traction Forcep เป็นคีมที่ใช้ในกรณีศีรษะทารกอยู่ค่อนข้างสูง
ภาวะแทรกซ้อน
ต่อมารดา
กระทบกระเทือนต่อกระเพาะปัสสาวะ
ช็อคจากความเจ็บปวด ผู้คลอดไม่ทำด้วยความนุ่มนวล
อันตรายต่อกระดูกเชิงกราน เช่น Symphysis pubis แยก
ติดเชื้อ
มีการฉีกขาดของหนทางคลอด
อันตรายจากการแพ้ยาระงับความรู้สึก
ใช้คีมไม่ถูกต้อง เกิดการตกเลือด
ต่อทารก
คีมกด Clavical plexus จะท าให้เกิด Erb’ s Palsy
คีมกด Facial nerve จะทำให้เกิด Facial Palsy
กระทบกระเทือนต่อกระโหลกศีรษะ สมองและหนังศีรษะทารกในครรภ์
หูหนวกกระทบกระเทือนต่อ Auditory Organ
แรงกดที่ศีรษะเกิด Asphyxia
ปอดบวมและถุงลมแฟบ
Induction of labour
ข้อห้าม
vasa previa
ทารกท่าขวาง
ภาวะรกเกาะต่ำ
เนื้องอกที่ขัดขวางช่องทางคลอด
Previous c/s
Prolapsed cord
Fetal distress,
Twins
การพยาบาล
ช่วยแพทย์ในการให้สารละลายออกซิโตซินทางหลอดเลือดดำ
สังเกตลักษณะการหดรัดตัวของมดลูก Interval น้อยกว่า 2 นาทีduration มากกว่า 60วินาที
ปรับหยดสารละลายออกซิโตซิน เริ่มต้น 5-10 หยด/นาที เพิ่ม 5หยดทุก 30 นาที จนกว่า
การหดรัดตัวของมดลูกจะดี คือ Interval อยู่ในช่วง 2-3 นาที Duration อยู่ระหว่าง 45-60 วินาที
เตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ในการให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ
เตรียมสารละลายออกซิโตซิน ตามแผนการรักษา (ส่วนใหญ่นิยมใช้้5% D/W 1000cc+Synto 10U)
ตรวจสอบการหยดของออกซิโตซิน ทุก 30 นาที
สังเกตสภาวะของทารกในครรภ์
ดูแลสภาวะทั่วไปของมารดาโดย Check BP, P, R เป็นระยะๆ
บันทึกเกี่ยวกับ
ขนาดและจ านวนของออกซิโตซินที่ได้รับทุก 30 นาที
จ านวนของหยดของออกซิโตซินที่ปรับขึ้นหรือลดลง
ลักษณะการหดรัดตัวของมดลูกทุก 15-30 นาที
สัญญาณชีพทุก 2-4 ชม. และเสียงหัวใจทารก 15-30 นาที
Record I/O
ดูแลผู้คลอดให้ได้รับความสุขสบายทั้งร่างกายและจิตใจ
ข้อบ่งชี้
การติดเชื้อของถุงน้ำคร่ำ (choroamnionitis) เพื่อลดอาการรุนแรงจากการติดเชื้อของ
มารดาและทารกในครรภ์
ภาวะเลือดออกก่อนคลอดจากภาวะรกลอกตัวก่อนกำหนด
PROM ในรายที่อายุครรภ์มากกว่า 34 สัปดาห์ และไม่เข้าสู่ระยะคลอดเองภายใน 12 ชั่งโมง แพทย์มักจะชักนำให้เกิดการเจ็บครรภ์คลอด
ทารกพิการแต่กำเนิดในครรภ์ที่ไม่สามารถมีชีวิตอยู่ได้
ทารกเสียชีวิตในครรภ์
ทารกเจริญเติบโตช้า (IUGR)
ภาวะครรภ์เกินกำหนด เนื่องจากครรภ์เกินกำหนดรกจะมีภาวะเสื่อมสภาพ ทำให้ทารกในครรภ์เกิดภาวะขาดออกซิเจนและตายในครรภ์ได้
ภาวะน้ำคร่ำน้อย (oligohydramnios)
ภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ การยุติการตั้งครรภ์จะทำให้ภาวะนี้หายได้และลดอันตรายที่จะเกิดกับหญิงตั้งครรภ์
ทารกบวมน้ำ (hydrops fetalis)
เจาะถุงน้ำทูนหัว
ภาวะแทรกซ้อน
ต่อทารก
ภาวะทารกอยู่ในภาวะคับขัน
อันตรายจากการเจาะถุงน้ำคร่ำ
ทารกคลอดก่อนกำหนดซึ่งเกิดจากแพทย์คาดคะเนอายุครรภ์ผิดพลาด
การคลอดเร็วเกินไป
การติดเชื้อจากการเจาะถุงน้ำและมีการติดเชื้อของถุงน้ำคร่ำ
ต่อหญิงตั้งครรภ์
การตกเลือดจากการฉีกขาดของช่องทางคลอดจากการคลอดเร็วเกินไป
การติดเชื้อของเยื่อบุถุงน้ำคร่ำ เนื่องจากระยะเวลาการชักนำถึงการคลอดนานเกินไป
เกิดการอุดตันในกระแสเลือดจากน้ำคร่ำ ซึ่งอาจเกิดได้ขญะที่ทำการเจาะถุงน้ำคร่ำ
การตกเลือดก่อนคลอดจากรกลอกตัวก่อนกำหนด
ภาวะมดลูกแตกจาการได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกโดยเฉพาะรายที่เคยผ่าตัดมา
Cesarean Section
ข้อบ่งชี้
Total placenta previa
มะเร็ง ปากมดลูก
CPD
Previous C/S
ท่าผิดปกติ
Fetal distress
Ante partum hemorrhage,
ภาวะแทรกซ้อนทางสูติกรรม
การพยาบาล
ขณะผ่าตัด
ข้อมูลต่างๆ ตามความเป็นจริงและพยาบาลให้กำลังใจ
ให้มารดาและผู้ใกล้ชิดได้-เล่าถึงความรู้สึกกลัว ผิดหวัง เศร้าโศก โกรธ สูญเสียต่างๆ
ให้ข้อมูลและอธิบายถึงเหตุผลของการทำผ่าตัดฯ ครั้งนี้และต้องเน้น
ให้เห็นถึงความคลายคลึงของการทำผ่าตัดกับการคลอดทางช่องคลอด
หลังคลอด
obsภาวะแทรกซ้อนของระบบหายใจ.
ให้ข้อมูลแก่มารดาถึงสาเหตุของการเจ็บปวด
บันทึก I/O
สอนมารดาถึงวิธีปฏิบัติตนเพื่อฟื้นฟูสมถรรนภาพของตนเอง
สังเกตอาการผิดปกติที่อาจกเกิดขึ้นได้
นำทารกให้มารดาและบิดาดูโดยเร็วที่สุด
ประเมินสภาวะของมารดาหลังผ่าตัด
กระตุ้นให้มารดาดูแลทารกด้วนตนเอง
แนะนำมารดาในเรื่องการพักผ่อนภายหลังผ่าตัด การออกกำลังกายซึ่งสามารถทำได้ เมื่อรู้สึกว่าไม่มีความเจ็บปวดบริเวณที่ผ่าตัดหรือหน้าท้อง
ก่อนผ่าตัด
ให้มารดางดน้ าและอาหารทางปาก ก่อนผ่าตัดประมาณ 6 – 8 ชม. เพื่อป้องกันการสำลักและสวนอุจจาระ เพื่อให้ลำไส้ว่างขณะทำผ่าตัด
เตรียมเครื่องมือ
ทำการสวนคาสายปัสสาวะ ดูให้สายยาง “Foley” อยู่ในกระเพาะปัสสาวะและไม่เคลื่อนหลุดออกมา
อธิบายถึงขั้นตอนต่างๆ
ดูแลให้มารดาได้รับสารน้ำและยาก่อนการผ่าตัดตามแผนการักษาของแพทย์
่ปัสสาวะตรวจและส่งเลือดตรวจหา CBC และค่าทางชีวะเคมีเพื่อประเมินสภาพความเป็นกรด ด่าง ในร่างกายของมารดา
เจาะเลือดส่งห้องปฏิบัติการเพื่อหาชนิดและหมู่เลือด ทำการจองเลือดไว้ 2 ยูนิตสำรองไว้จนถึง 48 ชั่วโมง หลังผ่าตัด เพื่อเตรียมพร้อมในกรณีที่มารดาเสียเลือดมาก
ดูแลให้มารดาถอดฟันปลอม คอนเทคเลนซ์ แหวน ล้างเล็บออกเพื่อปhองกันอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นได้
วัด v/s , FHS เพื่อระวังอาการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ของมารดาและทารกอันจะก่อให้เกิดอันตรายถึงชีวิตได้
เขียนบันทึกรายงานของมารดาในฟอร์มปรอทให้เรียบร้อย
เตรียมชุดให้เลือด ผ้าห่อทารก ให้พร้อมที่จะส่งไปห้องผ่าตัดพร้อมมารดา
ให้เวลาแก่มารดาเพื่อตอบข้อข้องใจและให้ข้อมูลแก่มารดาและครอบครัวมากที่สุดเพื่อลดความวิตกกังวล และเสริมสร้างความเข้าใจ
เครื่องดูดสุญญากาศ
ข้อบ่งชี้
ทารกในครรภ์อยู่ในภาวะ Mild fetal asphyxia ซึ่งเกิดจาก Fetal distress
Mild CPD
โรคแทรกซ้อน เช่น ความดันโลหิตสูง, โรคหัวใจ
ศีรษะทารกไม่หุนตามกลไกการคลอดปกติ เช่น Deep transverse arrest of head หรือ Occiput posterior position
Uterine inertiaโดยมีปัญหามดลูกหดรัดตัวไม่ดีเนื่องจากอ่อนเพลียหรือเกิดความล่าช้าในระยะที่ 2 ของการคลอด
ข้อห้าม
ทารกในครรภ์อยู่ในภาวะวิกฤติที่ต้องช่วยให้คลอดโดยด่วน
ทารกในครรภ์เสียชีวิตแล้ว
ทารกในครรภ์อยู่ในท่าผิดปกติ
ทารกคลอดก่อนกำหนด
CPD
ทารกอยู่ในภาวะ Fetal distress โดยที่ปากมดลูกยังไม่เปิด
มีการพลัดต่ำของสายสะดือ
ภาวะแทรกซ้อน
ด้านทารก
อาจจะมีเลือดอกที่จอตาแต่จะหายได้ภายใน 1 สัปดาห์
แรงกดที่ศีรษะเกิด Asphyxia
อาจจะเกิด Cephal hematoma
แรงดูดกระทบกระเทือนต่อกระโหลกศีรษะ สมองและหนังศีรษะทารกในครรภ์
แรงดูดกระทบกระเทือนต่อ Facial nerve จะทำให้เกิด Facial Palsy
หูหนวกกระทบกระเทือนต่อ Auditory Organ
ปอดบวม (Pneumonia) และถุงลมแฟบ (Atelectasis)
ด้านมารดา
กระทบกระเทือนต่อกระเพาะปัสสาวะ
ช็อคจากความเจ็บปวด ผู้คลอดไม่ท าด้วยความนุ่มนวล
อันตรายต่อกระดูกเชิงกราน เช่น Symphysis pubis แยก
มีการฉีกขาดของหนทางคลอด
ใช้เครื่องมือไม่ถูกต้อง เกิดการตกเลือด
ติดเชื้อ
อันตรายจากการแพ้ยาระงับความรู้สึก
การพยาบาล
การตรวจพิเศษและการตรวจทางห้องปฏิบัติการ เช่นการตรวจสภาพความสมบูรณ์ของทารกโดย Ultrasound
ภาวะจิตสังคม ได้แก่การประเมินความวิตกกังวลและหวาดกลัวของผู้คลอดต่อการช่วยคลอดด้วยเครื่องดูดสุญญากาศ
การตรวจร่างกาย
ตรวจช่องทางคลอดเพื่อประเมินลักษณะของปากมดลูก เชิงกรานมารดาและขนาดของทารก
การตรวจร่างกายทั่วไปและสัญญาณชีพ
การตรวจทางหน้าท้อง เพื่อประเมินท่า และขนาดของทารก การหดรัดตัวของมดลูก
การประเมินสภาพทารกในครรภ์ เช่น การฟังเสียงหัวใจทารก
การซักประวัติได้แก่ ประวัติเกี่ยวกับอาการผิดปกติในการตั้งครรภ์และการคลอดครั้งก่อน เช่น การคลอดติดขัด
นางสาวศุภาพิชญ์ อรัญศรี
รหัสนักศึกษา 602701098 เลขที่ 97