Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ประเด็นคำถาม - Coggle Diagram
ประเด็นคำถาม
เรื่องปากแหว่งเพดานโหว่
3.หลังผ่าตัดการดูแลเพื่อป้องกันแผลแยกทำอย่างไร
ป้องกันการติดเชื้อ
หากร้องไห้ต้องรีบปลอบให้หายโดยเร็ว
ห้ามนอนคว่ำ
ไม่ให้ดูดนม ใช้ช้อนป้อนหรือsyringแทน
4.หลังผ่าตัดทารกควรนอนท่าใด
จัดท่านอนหรือตะแคงด้านใดด้านหนึ่ง ห้ามนอนคว่ำเพื่อป้องกันการเสียดสีกับที่นอน แผลอาจแยกได้
2.การผ่าตัดปากแหว่งเพดานโหว่ควรทำเมื่อใด
ปากแหว่ง
รอเด็กอายุ8-12Wks.ปากโตพอสมควรชัดเจน ง่ายต่อการผ่าตัด
อายุ10wks.น้ำหนัก10ปอนด์Hct.>10g%
อาจทำภายใน48ชม.หลังคลอดในเด็กที่สมบูรณ์ดี
เพดานโหว่
ร่างกายแข็งแรงไม่มีโรค
จะทำก่อนเด็กพูด อายุ6-18Wks.
5.หลังผ่าตัดทารกควรดื่มนมเมื่อใด
สามารถให้ได้เลยแต่หยดเข้าทางกระพุ้งแก้ม
1.ภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญของเด็กปากแหว่งเพดานโหว่ในระยะก่อนผ่าตัด คือเรื่องใด มีวิธีป้องกันอย่างไร
เสี่ยงต่อการติดเชื้อทางเดินหายใจ/หูชั้นกลาง/อุดกั้นทางเดินหายใจจากการสำลัก
ป้องกันได้โดย
รักษาความสะอาดช่องปาก
ดูแลให้นมอย่างถูกวิธี
เตรียมลูกยางแดงไว้ดูดเสมหะ
สังเกตอาการหายใจผิดปกติ
เรื่องรูทวารตัน
3.อายุที่เหมาะสมในการฝึกการขับถ่าย
18-24เดือน
4.หลังผ่าตัดทำรูทวารหนัก ป้องกันการตีบแคบได้อย่างไร
ทานอาหารที่มีกากใย
การถ่างขยายโดยใช้เทียน
ฝึกการขับถ่าย
การให้ยาเพื่อปรับสภาพอุจจาระ
2.การดูแลcolostomyทำอย่างไร
หากมีน้ำรั่วซึมให้เปลี่ยนถุงใหม่ สังเกตการรั่วซึมของอุจจาระทุก2ชม.
ทำความสะอาดเป็นประจำด้วยNSSเมื่อแผลหายดีแล้วล้างด้วยน้ำสะอาดและซับผิวให้สะอาด
ทิ้งอุจจาระเมื่อมีปริมาณ1/3 - 1/4 ของถุง
สังเกตการเปลี่ยนแปลงของผิวหนังรอบๆทวารเทียมถ้ามีการแดง ถลอก ให้รายงานแพทย์
5.วิธีการฝึกควบคุมกล้ามเนื้อช่วยในการขับถ่ายทำอย่างไร
ฝึกการกลั้นอุจจาระ
ฝึกหนีบลูกบอล
ออกกำลังกายโดยการวิ่งหรือว่ายน้ำ
1.สังเกตการไม่มีรูทวารหนักหลังคลอดอย่างไร
ไม่มีขี้เทาออกทางทวาร
ถ่ายอุจจาระลำบากหรือไม่ถ่าย
ทารกมีอาการท้องผูก
เรื่องผนังหน้าท้องโหว่
2.เด็กดูแลในระยะดันลำไส้กลับในช่องท้อง เด็กต้องจัดท่านอนอย่างไร เพราะเหตุใด
จัดท่านอนตะแคงเพื่อลดโอกาสที่เลือดจะมาเลี้ยงลำไส้ไม่สะดวก
3.การฟังbowl sound หลังผ่าตัดปิดหน้าท้องเด็ก มีวัตถุประสงค์อย่างไร
ติดตามการทำงานของลำไส้
สังเกตภาวะความดันในช่องอกสูง
สังเกตภาวะท้องอืด
1.Gastroschisis กับomphalocele แตกต่างกันอย่างไร
Omphalocele ผนังหน้าท้องไม่สมบูรณ์ อวัยวะภายในมีสิ่งห่อหุ้ม
Gastroschisisผนังหน้าท้องสมบูรณ์แต่ไม่มีอะไรห่อหุ้มอวัยวะภายใน
4.ภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดปิดผนังหน้าท้องเด็ก ต้องระวังภาวะใดมีอาการและอาการแสดงอย่างไร
ภาวะความดันในช่องท้องสูงทำให้อวัยวะภายในล้มเหลว
ส่งผลกระทบหลายระบบ
ความดันต่ำ
หายใจลำบาก
ไตวาย
อาจทำให้เสียชีวิตภายในที่สุดหากไม่รักษา
เรื่องหลอดอาหารตีบ/รั่ว/ตัน
2.อาการแสดงที่บ่งชี้ว่าหลอดอาหารมีรูรั่วคืออะไร
พบอากาศในกระเพาะอาหาร
3.การให้นมTE fistula ทำอย่างไร
ให้ทางGastrostomy tube
4.การดูแลGastrostomy ทำอย่างไร
ทำแผลอย่างน้อยวันละ2ครั้ง
สังเกตการติดเชื้อ อาการบวมแดง
ป้องกันการเลื่อนหลุด
ให้ยาantibioticตามแผนการรักษา
1.อาการแสดงที่บ่งชี้ว่าหลอดอาหารตีบคืออะไร
น้ำลายไหลมาก อาเจียน ไอ สำลัก
อาหารและเมือกเข้าสู่ทางเดินหายใจ
เรื่องรูเปิดท่อปัสสาวะต่ำกว่าปกติ
2.ภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดมีอะไรบ้าง
ตีบตันของท่อปัสสาวะ
องคชาตโค้งงอ
เลือดออก ติดเชื้อ
มีรูตรงบริเวณรอยต่อระหว่างรูเปิดท่อปัสสาวะ
3.คำแนะนำในการดูแลหลังผ่าตัดเมื่อกลับไปอยู่บ้านทำอย่างไร
ดูแลให้ถุงปัสสาวะอยู่ต่ำกว่ากระเพาะปัสสาวะและเป็นระบบปิดเสมอ
สังเกตอาการติดเชื้อตัวร้อนมีไข้ แผลอักเสบบวมแดง ปัสสาวะมีสีขุ่นกลิ่นเหมือนควรรีบพบแพทย์
ห้ามทำกิจกรรมรุนแรงเพราะอาจทำให้ติดเชื้อและเลื่อนหลุดของท่อปัสสาวะได้
ดูแลแผลผ่าตัดไม่ให้เปียกทำความสะอาดร่างกายเด็กด้วยการเช็ดตัว ห้ามอาบในอ่าง สวมเสื้อผ้าหลวมๆ
ทำความสะอาดแผลวันละ2ครั้ง เช้า -เย็น
พบแพทย์ตามนัด
กระตุ้นให้เด็กดื่มน้ำมากๆ
1.การรักษาhypospadia โดยการผ่าตัดควรทำเมื่อใดเพราะเหตุใด
ควรทำในเด็กอายุ6-8เดือน ไม่ควรเกิน2ปี
เด็กเริ่มโตมีการเรียนรู้เรื่องเพศ หากไม่ได้รับการรักษาจะมีผลต่อด้านจิตใจเด็ก