Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้คลอดที่ทำสูติศาสตร์หัตถการ - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้คลอดที่ทำสูติศาสตร์หัตถการ
Vacumm cup
ข้อบ่งชี้
Uterine inertia
ความดันโลหิตสูง, โรคหัวใจ
ทารกในครรภ์อยู่ในภาวะ Mild fetal asphyxia
Mild CPD
ศีรษะทารกไม่หุนตามกลไกการคลอดปกติ
ข้อห้าม
CPD
ทารกในครรภ์อยู่ในท่าผิดปกติ
ทารกในครรภ์อยู่ในภาวะวิกฤติที่ต้องช่วยให้คลอดโดยด่วน
ทารกในครรภ์เสียชีวิตแล้ว
ทารกคลอดก่อนก าหนด
มีการพลัดต่ าของสายสะดือ
ทารกอยู่ในภาวะ Fetal distress โดยที่ปากมดลูกยังไม่เปิด
สภาวะที่เหมาะสม
ปากมดลูกเปิดหมด
ส่วนนำอยู่ในสภาวะที่เหมาะสมสามารถคลอดทางช่องคลอดได้
ศีรษะในครรภ์ต้อง Deep engaged แล้ว
ไม่พบปัญหาผิดสัดส่วนกันระหว่างศีรษะทารกกับช่องเชิงกรานของผู้คลอด
กระเพาะปัสสาวะและทวาหนักต้องว่าง
ถุงน้ำคร่ำแตกแล้ว
ทารกในครรภ์ยังมีชีวิตอยู
ภาวะแทรกซ้อน
ด้านมารดา
มีการฉีกขาดของหนทางคลอด
Symphysis pubis แยก
กระทบกระเทือนต่อกระเพาะปัสสาวะ
ช็อคจากความเจ็บปวด
ตกเลือด
ติดเชื้อ
อันตรายจากการแพ้ยาระงับความรู้สึก
ด้านทารก
Cephal hematoma
อาจจะมีเลือดอกที่จอตาแต่จะหายได้ภายใน 1 สัปดาห์
Asphyxia
แรงดูดกระทบกระเทือนต่อกระโหลกศีรษะ สมองและหนังศีรษะ
Facial Palsy
หูหนวกกระทบกระเทือนต่อ Auditory Organ
ปอดบวม (Pneumonia) และถุงลมแฟบ (Atelectasis)
การพยาบาล
การซักประวัติ
อาการผิดปกติในการตั้งครรภ์และการคลอดครั้งก่อน
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางหน้าท้อง
ตรวจช่องทางคลอด
การประเมินสภาพทารกในครรภ์
ภาวะจิตสังคม
การตรวจพิเศษและการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Cesarean Section
ข้อบ่งชี้
CPD
ท่าผิดปกติ
Total placenta previa
4.มะเร็งปากมดลูก
ภาวะแทรกซ้อนทางสูติกรรม
Previous C/S
Ante partum hemorrhage
Fetal distress
ยาระงับความรู้สึก
Spenal block
Epidural block
GA
การพยาบาล
อธิบายถึงขั้นตอนต่างๆ
เตรียมเครื่องมือเครื่อง
ดูแลให้มารดางดน้ำและอาหารทางปาก
เตรียมความสะอาดบริเวณผิวหนัง
สวนคาสายปัสสาวะ
6 ดูแลให้มารดาได้รับสารน้ำและยาก่อนการผ่าตัด
7 เจาะเลือดส่งห้องปฏิบัติการ
8 ส่งปัสสาวะตรวจและส่งเลือดตรวจหา CBC
9 ตรวจนับสัญญาณชีพ (Vital signs)
10 ดูแลให้มารดาถอดฟันปลอม คอนเทคเลนซ์ แหวน ล้างเล็บออก
11 เขียนบันทึกรายงานของมารดาในฟอร์มปรอท
12 เตรียมชุดให้เลือด
Induction of labour
ข้อบ่งชี้
ภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ (PIH)
ภาวะครรภ์เกินกำหนด
ทารกเสียชีวิตในครรภ์ (DFIU)
PROM
การติดเชื้อของถุงน้ำคร่ำ (choroamnionitis)
ภาวะเลือดออกก่อนคลอด
ทารกพิการแต่กำเนิดในครรภ์ที่ไม่สามารถมีชีวิตอยู่ได้
IUGR
ภาวะน้ำคร่ำน้อย (oligohydramnios)
ทารกบวมน้ำ (hydrops fetalis)
Medical
ใช้ Prostaglandin เพื่อให้ปากมดลูกนุ่ม
Prostaglandin E1 dose 25 ถึง 50 mg intravaginally into proterior fornix ทุก 3-6 ซม. ไม่เกิน 300-400 mg. ใน 24 ซม. เพื่อให้มดลูกหดรัดตัว
Protaglandin E2 dose 10 mg. intravaginally into posterior fornix ทุก 6 ชม.
ใช้ Oxytocin เพื่อ Augmentation of labor
dose infusion pump and solution 10 u/1000 cc. 0.5-2 m u/min ทุก 30-60 นาที until 20-40 mu/min เพื่อให้มดลูกหดรัดตัว 40-90 mmHg (Internal mornitor) Duration 60-90 วินาที ทุก 2-3 นาท
Surgical
Amniotomy
ฟังเสียงหัวใจทารก และบันทึกไว้
บันทึกเกี่ยวกับลักษณะสี และจำนวนของ Amniotic Fluid
บันทึกเกี่ยวกับ Interval, Duration
การพยาบาล
เตรียมสารละลายออกซิโตซิน
เตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ในการให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ
ช่วยแพทย์ในการให้สารละลายออกซิโตซินทางหลอดเลือดดำ
สังเกตลักษณะการหดรัดตัวของมดลูก
ปรับหยดสารละลายออกซิโตซิน
ตรวจสอบการหยดของออกซิโตซิน
สังเกตสภาวะของทารกในครรภ์
ดูแลสภาวะทั่วไปของมารดา
ภาวะแทรกซ้อน
ต่อหญิงตั้งครรภ์
ภาวะมดลูกแตก
ตกเลือด
ติดเชื้อ
ต่อทารก
คลอดก่อนกำหนด
สายสะดือย้อย
คลอดเร็วเกินไป
ติดเชื้อ
Forcep extraction
Short Curve Forcep
Long Curve Axis Traction Forcep
Kielland Forceps
ข้อบ่งชี้
Prophylactic or Elective
ช่วยลดความกดดันบางประการที่เกิดขึ้นกับผู้คลอดทั้งทางร่างกายและอารมณ์
ปูองกันการฉีกขาดหรือยืดขยายมากเกินไปของฝีเย็บ
จ ากัดปริมาณการเสียเลือดจากการคลอด
ปูองกันสมองถูกท าลายจากภาวะพร่องออกซิเจน
ด้านแม่
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี/มารดาไม่มีแรงเบ่ง
กระดูกเชิงกรานค่อนข้างแคบหรือ Rigid pelvic floor หรือ Rigid perineum
ส่วนน าของทารกค่อนข้างใหญ่ หรือ Occiput อยู่ด้านหลัง หรือ Deep transverse arrest of head
ผู้คลอดมีภาวะความดันโลหิตสูงระหว่างตั้งครรภ์4
ผู้คลอดอ่อนเพลีย
ผู้คลอดมีสุขภาพไม่ดีจากโรคเรื้อรัง เช่น โรคหัวใจ, ไทรอยด์, หลอดลมอักเสบ
มีปัญหาเลือดออกในสมอง
ไส้ติ่งอักเสบ
ด้านทารก
Fetal distress
สายสะดือพลัดต่ำ
สภาวะที่เหมาะสม
ปากมดลูกเปิดหมด
ส่วนน ามีสภาวะที่เหมาะสมสามารถคลอดทางช่องคลอดได้
ศีรษะทารกต้อง Deep engaged แล้ว
ไม่พบภาวะผิดสัดส่วนระหว่างส่วนน ากับช่องเชิงกราน
กระเพาะปัสสาวะและทวารหนักต้องว่าง
ถุงน้ าคร่ าแตกแล้ว
ทารกในครรภ์ยังมีชีวิตอยู
ขั้นตอน
ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ
การใส่ใบคีมต้องใส่ข้างซ้ายก่อนข้างขวา
แพทย์ผู้ทำประเมินสภาพช่องเชิงกรานผู้คลอดโดยการตรวจภายใน
สวนปัสสาวะ
เมื่อใส่ใบคีมทั้งสองข้างครบจึงล็อค
Tentative traction
Traction
Removal
Birth of Head
ภาวะแทรกซ้อน
ต่อมารดา
มีการฉีกขาดของหนทางคลอด
Symphysis pubis แยก
กระทบกระเทือนต่อกระเพาะปัสสาวะ
ช็อคจากความเจ็บปวด
ตกเลือด
ติดเชื้อ
อันตรายจากการแพ้ยาระงับความรู้สึก
ต่อทารก
Asphyxia
กระทบกระเทือนต่อกระโหลกศีรษะ สมองและหนังศีรษะ
Erb’ s Palsy
Facial Palsy
หูหนวกกระทบกระเทือนต่อ Auditory Organ
ปอดบวมและถุงลมแฟบ
การพยาบาล
การซักประวัติ
อาการผิดปกติในการตั้งครรภ์และการคลอดครั้งก่อน
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางหน้าท้อง
ตรวจช่องทางคลอด
ประเมินสภาพทารกในครรภ์
ภาวะจิตสังคม
ความวิตกกังวล
หวาดกลัวของผู้คลอดต่อ
การช่วยคลอดด้วยคีม
Manual Removal of Placenta
เตรียมผู้คลอด
ท่า lithotomy
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
บอกผู้ป่วยทราบสาเหตุที่ต้องล้วงรก และขั้นตอนในการล้วงรก
ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธ์ภายนอก
ให้ general anesthesia with endotracheal intubation
ขั้นตอน
สวนปัสสาวะ
ใช้น้ำยาฆ่าเชื้อทำความสะอาดสายสะดือ
ใช้มือข้างที่ไม่ถนัดตรึงสายสะดือไว้ อีกมือหนึ่งตามสายสะดือเข้าไปในโพรงมดลูก โดยห่อมือเป็นรูปกรวย เมื่อเข้าไปถึงโพรงมดลูกแล้วย้ายมือข้างที่จับสายสะดือมาวางไว้ที่หน้าท้อง และจับยอดมดลูกตรึงไว้เพื่อให้อยู่กับที่ ใช้มือข้างที่อยู่ในโพรงมดลูกคลำหาขอบรก เมื่อพบขอบรกแล้วใช้สันมือทางด้านนิ้วก้อย (ไม่ใช้ปลายนิ้วตะกุย) เซาะรกแยกจากผนังโพรงมดลูกจนรกหลุดทั้งอัน แล้วจึงดึงรกออกมาทั้งหมดทีเดียว
การป้องกันการตกเลือด
คลึงมดลูกให้แข็งตัว
ให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
Breech assisting
ชนิดของท่าก้น
1.ท่าก้นที่เอาก้นเป็นส่วนนำ (Frank breech หรือ extenedbreech )
เป็นท่าก้นที่ทารกงอสะโพก และเข่าเหยียดตรงแนบกับท้องบริเวณหน้าขนานไปกับลาตัวของทารก เป็นชนิดที่พบบ่อยที่สุด
2.ท่าก้นชนิดสมบูรณ์ (Complete breech หรือ double breech )
ทารก จะอยู่ในท่างอสะโพกและงอเข่าทั้ง 2 ข้าง หรืออยู่ในท่าขัดสมาธิมือกอดอก และก้นเป็นส่วนนำลงมาในอุ้งเชิงกราน
3.ท่าก้นชนิดไม่สมบูรณ์ (Incompletebreech)เป็นท่า ก้นที่ส่วนใดส่วนหนึ่งของขาอยู่ต่ากว่ากระดูกก้นกบ (sacrum)
3.1 Single footling คือ มีเท้าข้างหนึ่งยื่นลงมา
3.2 Double footling คือ มีเท้า 2 ขา งเหยียดยื่นลงมา
3.3 Knee presentation คือ ต้นขาเหยียดแต่งอเ ข่า ทาให้เ ข่า เป็นส่วนที่ลงมาก่อน
อันตรายจากการคลอดท่าก้น
แม่
ช่องทางคลอดฉีกขาด
ตกเลือดหลังคลอด
ทารก
กระดูกหักและข้อเคลื่อน
ขาดออกซิเจน
เลือดออกในสมอง
อวัยวะในช่องท้องฉีกขาด
ทารกในครรภ์มารดาที่มีส่วนนาเป็นก้น หรือส่วนใดส่วนหนึ่งของขาหรือร่วมกันอยู่ทางส่วนล่างของมดลูก และศีรษะอยู่ทางส่วนของยอดมดลูก
สาเหตุ
ทารก
คลอดก่อนกำหนด (Preterm Labor) และทารกตัวเล็กเนื่องจาก ปริมาณน้าคร่ำมาก ทาให้ทารกเคลื่อนไหวในครรภ์ ได้ปกติจึงเอาก้นเป็นส่วนนำ
ทารกมีความผิดปกติ เช่น hydrocephalus
แม่
ครรภ์แฝดน้ำ (Polyhydramnios)
ผนังหน้าท้องหนา หย่อนยาน เช่น ครรภ์หลัง
มีสิ่งขีดขวางช่องเชิงกราน เช่น ภาวะCPD รกเกาะต่า (Placenta previa) เนื้องอกของอวัยวะในอุ้งเชิงกราน