Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 การพยาบาลที่ได้รับการช่วยเหลือสูติศาสตร์หัตถการ - Coggle Diagram
บทที่ 7 การพยาบาลที่ได้รับการช่วยเหลือสูติศาสตร์หัตถการ
การพยาบาลผู้คลอดที่ได้รับการทำคลอดโดยใช้คีม
หน้าที่ของคีม
Rotation (ตัวหมุน) ใช้ในกรณี Deep transverse arrest of head โดยใช้ Kielland Forceps
Extractor (ตัวดึง) จะใช้ในผู้คลอดที่ไม่มีแรงเบ่งพอหรือไม่ต้องการให้ผู้คลอดออกแรงเบ่งในท่าศีรษะเป็นส่วนนำโดยใช้ Simson forcep และในกรณีท่าก้นจะใช้คีมท าคลอดศีรษะโดยใช้ Piper forceps
ชนิดของการทำคลอดด้วยคีม
การทำคลอดด้วยคีมเมื่อศีรษะมี engagement แล้ว โดยต้องทำการช่วยเหลือโดยการหมุนก่อนเมื่อเริ่มดึงถือว่าเป็น Mid Forceps
Low Forceps หมายถึง การทำคลอดด้วยคีมเมื่อเห็นหนังศีรษะที่บริเวณอวัยวะสืบพันธุ์โดยไม่ต้องแยก Labia และกะโหลกศีรษะอยู่บน Pelvic floor รอยต่อแสกกลางอยู่ในแนวหน้าหลัง
ประเภทของคีม
Long Curve Axis Traction Forcep
Kielland Forceps
Short Curve Forcep
ข้อบ่งชี้ในการทำคลอดด้วยคีม
ข้อบ่งชี้ด้านแม่
ส่วนนำของทารกค่อนข้างใหญ่ หรือ Occiput อยู่ด้านหลัง หรือ Deep transverse arrest of head
ผู้คลอดมีภาวะความดันโลหิตสูงระหว่างตั้งครรภ์
กระดูกเชิงกรานค่อนข้างแคบหรือ Rigid pelvic floor หรือ Rigid perineum
ผู้คลอดอ่อนเพลีย
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี/มารดาไม่มีแรงเบ่ง
ผู้คลอดมีสุขภาพไม่ดีจากโรคเรื้อรัง
มีปัญหาเลือดออกในสมอง
ไส้ติ่งอักเสบ
ข้อบ่งชี้ด้านทารก
Fetal distress
สายสะดือพลัดต่ำ
การทำเพื่อการรักษาและการป้องกัน
ป้องกันการฉีกขาดหรือยืดขยายมากเกินไปของฝีเย็บ
จำกัดปริมาณการเสียเลือดจากการคลอด
ช่วยลดความกดดันบางประการที่เกิดขึ้นกับผู้คลอดทั้งทางร่างกายและอารมณ์
ป้องกันสมองถูกทำลายจากภาวะพร่องออกซิเจน
ส่วนประกอบของคีม
Shank
Lock
Blade
Handle
สภาวะที่เหมาะสมในการทำคลอดด้วยคีม
ไม่พบภาวะผิดสัดส่วนระหว่างส่วนนำกับช่องเชิงกราน
กระเพาะปัสสาวะและทวารหนักต้องว่าง
ศีรษะทารกต้อง Deep engaged แล้ว
ถุงน้ำคร่ำแตกแล้ว
ส่วนนำมีสภาวะที่เหมาะสมสามารถคลอดทางช่องคลอดได้
ทารกในครรภ์ยังมีชีวิตอยู่
ปากมดลูกเปิดหมด
ขั้นตอนของการทำคลอดโดยใช้คีม
การใส่ใบคีมต้องใส่ข้างซ้ายก่อนข้างขวา
. เมื่อใส่ใบคีมทั้งสองข้างครบจึงล็อค
แพทย์ผู้ท าประเมินสภาพช่องเชิงกรานผู้คลอดโดยการตรวจภายใน
Tentative traction เป็นการทดลองก่อนดึงจริง
สวนปัสสาวะ
. Traction ควรดึงพร้อมกับมดลูกหดรัดตัวให้ดึงแต่ละครั้งนาน 1-2 นาที
ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ
Removal แก้ปลดล็อค นำใบคีมขวาออกก่อนจึงนำใบคีมซ้ายออก
Birth of Head ท าคลอดศีรษะเหมือนตามปกติตามกลไกการคลอด
ภาวะแทรกซ้อน
ต่อมารดา
ช็อคจากความเจ็บปวด ผู้คลอดไม่ทำด้วยความนุ่มนวล
ใช้คีมไม่ถูกต้อง เกิดการตกเลือด
กระทบกระเทือนต่อกระเพาะปัสสาวะ
ติดเชื้อ
อันตรายต่อกระดูกเชิงกราน
อันตรายจากการแพ้ยาระงับความรู้สึก
มีการฉีกขาดของหนทางคลอด
ต่อทารก
กระทบกระเทือนต่อกระโหลกศีรษะ สมองและหนังศีรษะทารกในครรภ
คีมกด Clavical plexus จะทำให้เกิด Erb’ s Palsy
แรงกดที่ศีรษะเกิด Asphyxia
คีีมกด Facial nerve จะท าให้เกิด Facial Palsy
หูหนวกกระทบกระเทือนต่อ Auditory Organ
ปอดบวมและถุงลมแฟบ
การพยาบาลในการดูแลผู้คลอดที่ได้รับการช่วยคลอดโดยใช้คีม
การตรวจร่างกาย
ตรวจช่องทางคลอดเพื่อประเมินลักษณะของปากมดลูก เชิงกรานมารดา
และขนาดของทารก
การตรวจร่างกายทั่วไปและสัญญาณชีพ
การตรวจทางหน้าท้อง
การประเมินสภาพทารกในครรภ์
ภาวะจิตสังคม ได้แก่การประเมินความวิตกกังวลและหวาดกลัวของผู้คลอดต่อการช่วยคลอดด้วยคีม
การซักประวัติได้แก่ ประวัติเกี่ยวกับอาการผิดปกติในการตั้งครรภ์และการ
คลอดครั้งก่อน
การพยาบาลผู้คลอดที่ได้รับการทำคลอดโดยใช้เครื่องดูดสุญญากาศ
สภาวะที่เหมาะสมในการทำคลอดโดยใช้เครื่องดูดสุญญากาศ
ไม่พบปัญหาผิดสัดส่วนกันระหว่างศีรษะทารกกับช่องเชิงกราน
กระเพาะปัสสาวะและทวาหนักต้องว่าง
ศีรษะในครรภ์ต้อง Deep engaged แล้ว
ถุงน้ำคร่ำแตกแล้ว
ส่วนนำอยู่ในสภาวะที่เหมาะสม
ทารกในครรภ์ยังมีชีวิตอยู่
ปากมดลูกเปิดหมด
ขั้นตอนในการทำคลอดโดยใช้เครื่องดูดสุญญากาศ
แพทย์ใช้ยาชาเฉพาะที่คือทำ Pudendal neve block โดยใช้ 1% Xylocain
แพทย์เลือก Cupที่มีขนาดเหมาะสมกับศีรษะทารก
แพทย์ผู้ทำประเมินสภาพช่องเชิงกรานผู้คลอดโดยการตรวจภายใน
เริ่มต้นดูดด้วยแรงดูด 0.20 Kg/cm 2 ก่อน ต่อไปเพิ่มแรงดูดขึ้นอีกครั้งๆละ 0.10-0.20 Kg/cm 2พักนาน1-2 นาทีทำสลับกันไปเรื่อยๆจนได้แรงดูดสำหรับการดึงคือ 0.60-0.70 Kg/cm 2 ไม่เกิน 0.80 Kg/cm 2
สวนปัสสาวะ
การดึงโดยใช้มือขวาดึง Handle มือซ้ายแตะ Cup ที่ติดกับศีรษะทารก ลักษณะการดึงต้องดึงตามแนวโค้งของหนทางคลอด มื่อดึงศีรษะจะเคลื่อนตามทางลงมาจนเมื่อฝีเย็บเริ่มตึง แบบจะตัดฝีเย็บจากนั้น Safe perineum พร้อมกับดึงศีรษะผ่านหนทางคลอด
ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ
ข้อห้าม
ทารกในครรภ์เสียชีวิตแล้ว
ทารกคลอดก่อนกำหนด
ทารกในครรภ์อยู่ในภาวะวิกฤติที่ต้องช่วยให้คลอดโดยด่วน
มีการพลัดต่ำของสายสะดือ
ทารกในครรภ์อยู่ในท่าผิดปกติ
ทารกอยู่ในภาวะ Fetal distress
CPD
ภาวะแทรกซ้อน
ต่อมารดา
ช็อคจากความเจ็บปวด
ตกเลือด
กระทบกระเทือนต่อกระเพาะปัสสาวะ
ติดเชื้อ
อันตรายต่อกระดูกเชิงกราน
อันตรายจากการแพ้ยาระงับความรู้สึก
มีการฉีกขาดของหนทางคลอด
ต่อทารก
แรงดูดกระทบกระเทือนต่อกระโหลกศีรษะ สมองและหนังศีรษะทารกใน
ครรภ์
แรงดูดกระทบกระเทือนต่อ Facial nerve จะท าให้เกิด Facial Palsy
แรงกดที่ศีรษะเกิด Asphyxia
หูหนวกกระทบกระเทือนต่อ Auditory Organ
อาจจะมีเลือดอกที่จอตาแต่จะหายได้ภายใน 1 สัปดาห
ปอดบวม (Pneumonia) และถุงลมแฟบ (Atelectasis)
อาจจะเกิด Cephal hematoma
ข้อบ่งชี้
ทารกในครรภ์อยู่ในภาวะ Mild fetal asphyxia
Mild CPD
โรคแทรกซ้อน เช่น ความดันโลหิตสูง
ศีรษะทารกไม่หมุนตามกลไกการคลอดปกติ
Uterine inertia โดยมีปัญหามดลูกหดรัดตัวไม่ดีเนื่องจากอ่อนเพลียหรือเกิดความล่าช้าในระยะที่ 2 ของการคลอด
การพยาบาล
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางหน้าท้อง
ตรวจช่องทางคลอด
การตรวจร่างกายทั่วไปและสัญญาณชีพ
การประเมินสภาพทารกในครรภ์
ภาวะจิตสังคม ได้แก่การประเมินความวิตกกังวลและหวาดกลัวของผู้คลอดต่อการช่วยคลอดด้วยเครื่องดูดสุญญากาศ
การซักประวัติได้แก่ ประวัติเกี่ยวกับอาการผิดปกติในการตั้งครรภ์และการ
คลอดครั้งก่อน
การตรวจพิเศษและการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ส่วนประกอบของเครื่องดูดสุญญากาศ
ภายใน Cup จะมีแผ่นโลหะ (Mental plate) และโซ๋โลหะ (Chain)
Traction bar หรือ Handle
Vacumm cup
Suction tube
เครื่องดูดสุญญากาศ
การชักนำการคลอด (Induction of labour)
วิธีการชักนำการคลอด
Medical
Protaglandin E2 dose 10 mg. intravaginally into posterior fornix ทุก 6 ชม.
การใช้ Oxytocin นิยมใช้เพื่อ Augmentation of labor
Prostaglandin E1 dose 25 ถึง 50 mg intravaginally into proterior fornix ทุก 3-6 ซม.
ข้อห้ามในการชักนำการคลอด
ทารกท่าขวาง CPD
Previous c/s
vasa previa
เนื้องอกที่ขัดขวางช่องทางคลอด
Placenta previa
Prolapsed cord
Fetal distress
Twins
การพยาบาลผู้คลอดที่ได้รับการชักนำการคลอดโดยใช้ยา Oxytocin
ปรับหยดสารละลายออกซิโตซิน เริ่มต้น 5-10 หยด/นาที เพิ่ม 5 หยดทุก 30 นาที
ตรวจสอบการหยดของออกซิโตซิน ทุก 30 นาที
สังเกตลักษณะการหดรัดตัวของมดลูก
สังเกตสภาวะของทารกในครรภ์ โดยฟังเสียงหัวใจทารกเป็นระยะๆ ทุก 15-30 นาที
ช่วยแพทย์ในการให้สารละลายออกซิโตซินทางหลอดเลือดดำ
ดูแลสภาวะทั่วไปของมารดาโดย Check BP, P, R เป็นระยะๆ
เตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ในการให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ
บันทึกเกี่ยวกับ
ลักษณะการหดรัดตัวของมดลูกทุก 15-30 นาที
สัญญาณชีพทุก 2-4 ชม. และเสียงหัวใจทารก 15-30 นาที
จำนวนของหยดของออกซิโตซินที่ปรับขึ้นหรือลดลง
Record I/O
ขนาดและจำนวนของออกซิโตซินที่ได้รับทุก 30 นาที
เตรียมสารละลายออกซิโตซิน
ดูแลผู้คลอดให้ได้รับความสุขสบายทั้งร่างกายและจิตใจ
ให้คำแนะน าเกี่ยวกับกระบวนการชักนำการคลอด, การคลอด
รับฟังและสอบถามปัญหาของผู้คลอด
จัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบสงบ
ช่วยดูแลการทำกิจวัตรประจำวัน
ข้อบ่งชี้ทางอายุรกรรม
หญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคไตเรื้อรัง
หญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงเรื้อรัง
หญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคเบาหวาน
การพยาบาลผู้คลอดที่ได้รับการชักนำการคลอดโดยการเจาะถุงน้ำทูนหัว
Flushing และใส่ผ้าอนามัยเพื่อสังเกตปริมาณน้ำคร่ำ
ให้ผู้คลอดนอนพักบนเตียง
ฟังเสียงหัวทารกทันทีภายหลังเจาะถุงน้ำทูนหัว
บันทึกเกี่ยวกับ Interval, Duration ผลการตรวจความก้าวหน้าของการคลอด
เมื่อน้ำคร่ำไหลออกมาต้องบันทึกเกี่ยวกับลักษณะสี และจำนวนของ Amniotic Fluid
บันทึก FHS เป็นระยะๆ อาจทุก 15-30 นาที
ฟังเสียงหัวใจทารก และบันทึกไว้
บันทึก T, P, R, BP
เตรียมผู้คลอด
เตรียมร่างกาย
กั้นม่านไม่เปิดเผย
เตรียมจิตใจ
จัดท า dorsal Recombent ปิดตาและ drape ผ้าให้เรียบร้อย
ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
เปลี่ยนผ้าอนามัยทุกครั้งที่น้ำหล่อเด็กเปียกชุ่มพร้อม Flushing ให้
เตรียมเครื่องมือ ดังนี้
หม้อนอน (Bed pan)
Set Flush
เครื่องมือเจาะถุงน้ า Amniotomy Forceps
ถุงมือ Sterile
ข้อบ่งชี้ทางด้านสูติกรรม
การติดเชื้อของถุงน้้ำคร่ำ
ภาวะเลือดออกก่อนคลอดจากภาวะรกลอกตัวก่อนกำหนด
PROM ในรายที่อายุครรภ์มากกว่า 34 สัปดาห์
ทารกพิการแต่กำเนิดในครรภ์ที่ไม่สามารถมีชีวิตอยู่ได้
ทารกเสียชีวิตในครรภ์
ทารกเจริญเติบโตช้า
ภาวะครรภ์เกินกำหนด
ภาวะน้ำคร่ำน้อย
ภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ
ทารกบวมน้ำ
ภาวะแทรกซ้อน
ต่อมารดา
การตกเลือดจากการฉีกขาดของช่องทางคลอด
การติดเชื้อของเยื่อบุถุงน้ำคร่ำ
การตกเลือดก่อนคลอดจากรกลอกตัวก่อนกำหนด
เกิดการอุดตันในกระแสเลือดจากน้ำคร่ำ
ภาวะมดลูกแตกจาการได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
ต่อทารก
อันตรายจากการเจาะถุงน้ำคร่ำ ได้แก่ ภาวะสายสะดือย้อย
การคลอดเร็วเกินไป
fetal distress
การติดเชื้อจากการเจาะถุงน้ำ
ทารกคลอดก่อนกำหนด
การผ่าตัดนำทารกออกทางหน้าท้อง
ยาระงับความรู้สึก
Epidural block
GA
Spenal block
การพยาบาลมารดาที่ผ่าตัดเอาเด็กออกทางหน้าท้อง
การพยาบาลด้านร่างกาย
การสวนคาสายปัสสาวะ
หลังจากเอาสายสวนปัสสาวะออกแล้ว คอยสังเกตว่ามารดาถ่ายปัสสาวะได้เองหรือไม
สังเกตและจดบันทึกปริมาณ ลักษณะสี ความขุ่น ใส ของปัสสาวะ คอยสังเกตว่าปัสสาวะไหลสะดวกดีหรือไม่
พยาบาลจะต้องตรวจฟัง Bowel sound
พยาบาลจำเป็นต้องสังเกตอาการผิดปกติที่อาจกเกิดขึ้นได้ เช่น คลื่นไส้ อาเจียน
ดูแลให้มารดาได้รับสารน้ำทางเส้นเลือด
ดูว่าผิวหนังบริเวณที่ให้สารน้ ามันมีการอับเสบ บวม แดงหรือไม่
ทบทวนหรือสอนวิธีไอเพื่อขับเสมหะออกมา หมั่นพลิกตะแคงตัวให้มา
รดหรือคอยให้คำแนะนำอยู่ข้างๆ
ในระยะนี้มารดามีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น การติดเชื้อ การมีเลือดคั่ง
ดูแลให้มารดาได้รับยาปฏิชีวนะ
ตรวจนับสัญญาณชีพทุก 30 นาที ใน 2 ชั่วโมงแรกที่ย้ายมาหน่วยหลัง
คลอดและทุก 1 ชั่วโมง ต่อๆ มาจนถึงสัญญาญชีพสม่ าเสมอ
สังเกตอาการของการติดเชื้อบริเวณแผลผ่าตัด
อาการปวดแผล พยาบาลจะต้องให้ความช่วยเหลือ โดย
ให้ข้อมูลแก่มารดาถึงสาเหตุของการเจ็บปวด
ดูแลให้มารดในระยะหลังคลอดได้รับความสุขสบายทั่วๆไป
พยาบาลต้องประเมินสภาวะของมารดาหลังผ่าตัด (Assessment) ในเรื่องต่อไปนี้
หน้าที่ของกระเพาะปัสสาวะและลำไส้
หน้าที่ของระบบการหายใจ
ปริมาณสารอาหารและน้ำ
ทักษะในการเลี้ยงดูทารกของมารดา
การติดเชื้อ
ความคิดเห็นของมารดาและครอบครัวต่อการผ่าตัดครั้งนี้
ประเมินการหายของแผล
การพัฒนาทักษะในการดูแลทารกหรือการแสดงบทบาทของมารดา
เตรียมความพร้อมร่างกายของมารดาก่อนผ่าตัดเด็กออกทางหน้าท้อง
เจาะเลือดส่งห้องปฏิบัติการเพื่อหาชนิดและหมู่เลือด
ส่งปัสสาวะตรวจและส่งเลือดตรวจหา CBC
ดูแลให้มารดาได้รับสารน้ำและยาก่อนการผ่าตัด
ตรวจนับสัญญาณชีพ
ทำการสวนคาสายปัสสาวะ
ดูแลให้มารดาถอดฟันปลอม คอนเทคเลนซ์ แหวน ล้างเล็บออก
ตัดเตรียมความสะอาดบริเวณผิวหนังโดยการโกนขนตั้งแต่บริเวณยอดอกลงมาจนถึงต้นขาทั้งสองข้าง เช็ดตามด้วยทิงเจอร์ไอโอดีน 2 ½% แอลกอฮอล์ 70% คลุมด้วยผ้าก๊อสปราศจากเชื้อ
เขียนบันทึกรายงานของมารดาในฟอร์มปรอทให้เรียบร้อย ตรวจดูว่ามารดา
เซ็นใบยินยอมให้ทำการผ่าตัดเรียบร้อยแล้ว
ดูแลให้มารดางดน้ำและอาหารทางปาก ก่อนผ่าตัดประมาณ 6 – 8 ชม.
เตรียมชุดให้เลือด ผ้าห่อทารก
เตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ในการเตรียมผ่าตัด
ให้เวลาแก่มารดาเพื่อตอบข้อข้องใจและให้ข้อมูลแก่มารดาและครอบครัว
อธิบายถึงขั้นตอนต่างๆ
การพยาบาลด้านจิตใจ
สิ่งที่พยาบาลต้องคำนึงถึงคือ มารดาอาจขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องของความต้องการทางด้านจิตใจ อารมณ์ ภายหลังคลอดและไม่ทราบวิธีแก้ไข
อธิบายหรือชี้ประเด็นให้มารดามองเห็นถึงข้อดีต่างๆ ของประสบการณ์ที่มารดาได้รับจากการคลอดโดยการผ่าตัด
นำทารกให้มารดาและบิดาดูโดยเร็วที่สุด
กระตุ้นให้มารดาได้พูดถึงความรู้สึกต่างๆ ที่มีต่อการคลอดครั้งนี้และคอย
ประคับประคองให้กำลังใจแก่มารดา
ให้มารดาได้มีโอกาสสัมผัส โอบกอดทารกและสำรวจทารก
สอนมารดาถึงวิธีปฏิบัติตนเพื่อฟื้นฟูสมถรรนภาพของตนเองและเสนอแนะ
แนวทางในการแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่มารดาเผชิญอยู่
กระตุ้นให้มารดาดูแลทารกด้วนตนเอง
อธิบายให้มารดาทราบถึงความต้องการของหญิงคลอด ลักษณะอารมณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นว่าเป็นเรื่องปกต
ควรให้คำชมเชยแก่มารดาในขณะที่ดูแลทารก
ระบบครอลครัวอาจ
กระทบกระเทือน
แนะนำมารดาในเรื่องการพักผ่อนภายหลังผ่าตัด การออกกำลังกายซึ่งสามารถทำได้ เมื่อรู้สึกว่าไม่มีความเจ็บปวดบริเวณที่ผ่าตัดหรือหน้าท้อง
เมื่อพบบิดาและ/หรือสมาชิกในครอบครัว พยาบาลควรหาเวลาทำความเข้าใจและกระตุ้นให้บุคคลเหล่านั้น ได้ระบายความรู้สึกต่อการผ่าตัดครั้งนี้ ตลอดจนปัญหาที่เกิดขึ้นเนื่องจากมารดาต้องผ่าตัดครั้งนี้ ปัญหาการดูแลบ้าน คอยช่วยแนะนำหรือหาแนวทางแก้ไข
ข้อบ่งชี้ร่วม
Ante partum hemorrhage
Fetal distress
Previous C/S
ภาวะแทรกซ้อนทางสูติกรรม
ข้อบ่งชี้
CPD
Total placenta previa
ท่าผิดปกติ เช่น ท่าขวาง
มะเร็ง ปากมดลูก