Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การลำเลียงเข้า-ออกของเซลล์ - Coggle Diagram
การลำเลียงเข้า-ออกของเซลล์
1.ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
.
ใช้พลังงานจลน์ ทำให้เกิดจากเคลื่อนที่ของสารได้เองตามกฎ 2 ข้อของ Thermodynamics คือ 1.สารเคลื่อนที่จากความเข้มข้นสูงไปความเข้มข้นต่ำ 2.สารเคลื่อนที่จนกว่าความเข้มข้นของสารเท่ากัน เรียก สมดุลของการแพร่
.
.
.
.
.
.
แบบใช้พลังงาน
ทิศทางจากความเข้มข้นของสารละลารน้อยไปมาก <ย้อนconcectration gradient> ใช้สารพลังงาน คือ ATP คล้ายการแพร่แบบฟาซิลิเทตตรงที่ใช้ Protein & Carrier แบ่งเป็น 2 ประเภท
1.Primary Active Transport : เป็นการลำเลียงสารในทิศทางเดียวต่อการลำเลียง 1 ครั้ง
2.Secondary Active Transport : เป็นการลำเลียงสาร 2 ทิศทางต่อการลำเลียง 1 ครั้ง
.
1.การแพร่แบบธรรมดา : การเคลื่อนที่ของตัวถูกละลายจากความเข้มข้นสูงไปความเข้มข้นต่ำ จนกว่าความเข้มข้นถึงถึงสมดุลการแพร่ บริเวณที่เกิด คือ Phospholipid Bilayer ไม่อาศัยตัวพา<Carrier>ใดๆ
2.การแพร่แบบฟาซิลิเทต : อาศัยตัวพา เกิดเร็วกว่าแบบธรรมดา ตัวถูกลำเลียงความเข้มข้นมาก ทำให้ความเร็วคงที่
3.Osmosis : การเคลื่อนที่ของน้ำ ที่ทำหน้าที่เป็นตัวทำละลายผ่านเยื่อเลือกผ่าน ความเข้มข้นต่ำไปความเข้มข้นสูง ตัวทำละลายเคลื่อนที่ มีผลทำให้ปริมาตรเปลี่ยน
3.1. Hypertonic Solution : สารละลายความเข้มข้นสูงเมื่อเทียบกับ สารละลายความเข้มข้นภายในเซลล์ ทำให้ทิศทางออสโมซิสออกจากเซลล์ ทำให้เกิดปรากฎการณ์เซลล์เหี่ยว <Plasmolysis>
3.2. Hypotonic Solution : สารละลายความเข้มข้นต่ำเมื่อเทียบกับ สารละลายความเข้มข้นภายในเซลล์ ทำให้ทิศทางออสโมซิสเข้าสู่ภายในเซลล์ เกิดปรากฎการณ์เซลล์เต่ง <Plasmoptysis> พืชจะสามารถขยายไปเรื่อยๆ แต่สัตว์จะแตก <Hemolysis>
3.3. Istonic Solution : สารละลายความเข้มข้นเท่ากับ สารละลายความเข้มข้นภายในเซลล์ ทำให้ทิศทางออสโมซิสเข้า-ออกเท่ากัน จะทำให้รักษาสภาพ+การทำงานในเซลล์คงที่
4.Dialysis <ไดอะไลซิส> : เป็นกระบวนกสนที่ตรงข้ามกับออสโมซิส เป็นการเคลื่อนที่ของตัวถูกละลาย ผ่านเยื่อเลือกผ่าน จากความเข้มข้นของสารละลายสูงไปต่ำ จนถึงจุดสมดุล และยังเป็นหลักการนำไปประดิษฐ์เครื่องฟอกไตเทียม <Hemodialygi>
5.Lon Exchange <การแลกเปลี่ยนไอออน> : เป็นกระบวนการแลกเปลี่ยน ion ระหว่างภายในและภายนอกเซลล์ โดยต้องมี ion ขั่วเดียวกัน
6.Imbibition <การดูดซับ> : เป็นการดูดน้ำในลักษณะการซับน้ำ พบในพืช อาศัยสารสำคัญใน cell wall ของพืช คือ cellulose & pectin เป็นประโยชน์ในการงอกเมล็ดและการลำเลียงในพืช
.
.
.
แบบไม่ใช้พลังงาน
2.แบบไม่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
.
เป็นการลำเลียงสารที่มีโมเลกุลใหญ่จากสารละลายภายนอกเข้าสู่เซลล์ มี 3 วิธี ดังนี้
1.Phagocytosis : cell eating เป็นการลำเลียงสารที่มีโมเลกุลใหญ่และมีสถานะเป็นของเเข็งและวัตถุขนาดใหญ่เช่นเซลล์ โดยใช้ Pseudopodium ยื่นเยื่อหุ้มเซลล์ไปรอบล้อมสารน้้นๆแล้วสร้างถุงนำเข้าสู่เซลล์
2.Pinocytosis : cell drinking เป็นการลำเลียงสารที่มีโมเลกุลใหญ่และมีสถานะเป็นของเหลว หรือ สารละลาย โดยการเว้าเข้าไปของเยื่อหุ้มเซลล์ <เกิดขึ้นได้เนื่ีองจากมี Microfilament อยู่ภายใต้เยื่อหุ้มเซลล์ จนเกิดเป็นถุง>
.
.
.
.
Endocytosis <การนำเข้าสู่เซลล์>
3.Receptor-Mediated Endocytosis : การนำเข้าสู่เซลล์โดยอาศัยตัวรับ เกิดขึ้นดดยโปรตีนที่อยู่บนเยื่อหุ้มเซลล์ ทำหน้าที่เป็นตัวรับ <Protein Receptor> ลำเลียงโดยวิธีนี้จะต้องมีความจำเพาะในการจับโปรตีน ตัวรับที่อยู่บนเยื่อหุ้มเซลล์
.
.
.
.
.
Exocytosis <การนำสารออกจากเซลล์>
เป็นการลำเลียงสารที่มีโมเลกุลใหญ่ภายในเซลล์ออกสู่สิ่งแวดล้อมภายนอก ลำเลียงดดยบรรจุอยู่ในถุง <Vesicle> แล้วถุงจะค่อยๆเคลื่อนเข้ามาเชื่อมรวมกับเยื่อหุ้มเซลล์ จากนั้นสารที่บรรจุอยู่ในถุงจะถูกปล่อยออกสู่นอกเซลล์