Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้คลอดที่ทำสูติศาสตร์หัตถการ - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้คลอดที่ทำสูติศาสตร์หัตถการ
Forcep extraction
เป็นวิธีช่วยคลอดโดยผู้ทำคลอดจะใช้คีม ดึงศีรษะทารกให้คลอดผ่านทางช่องคลอด โดยที่คีมจะทำหน้าที่แทนแรงเบ่งของผู้คลอด
ส่วนประกอบ
ใบคีม (Blade)
ก้าน (Shank)
ล็อก (Lock)
ด้ามถือ (Handle)
ข้อบ่งชี้
ด้านแม่
Heart disease
Acute pulmonary edema
Intrapartum infection
Maternal exhausion
Prolonged second stage
ด้านทารก
Prolapsed of umbilical cord
Abrubtio placenta
Fetal distress
สภาวะที่เหมาะสมในการทำคลอดด้วย Forcep
Cervix : fully dilate
Fetal head : engage
รู้ Position : แน่นอน
Presentation : vertex/face
Membrane : ruptured
No CPD
ภาวะแทรกซ้อน
ต่อมารดา
มีการฉีกขาดของหนทางคลอด
Symphysis pubis แยก
กระทบกระเทือนต่อกระเพาะปัสสาวะ
เกิดการตกเลือด
ติดเชื้อ
แพ้ยาระงับความรู้สึก
ต่อทารก
แรงกดที่ศีรษะเกิด Asphyxia
กระทบกระเทือนต่อกระโหลกศีรษะ สมองและหนังศีรษะ
Erb’ s Palsy
Facial Palsy
Auditory Organ
ปอดบวมและถุงลมแฟบ
การพยาบาล
การซักประวัติ
อาการผิดปกติในการตั้งครรภ์และการคลอดครั้งก่อน
การตรวจร่างกาย
ตรวจทางหน้าท้อง
ตรวจช่องทางคลอด
ตรวจร่างกายทั่วไป
ประเมินสภาพทารกในครรภ์
ภาวะจิตสังคม
ความวิตกกังวลและหวาดกลัว
ข้อวินิจฉัย
มีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการทำคลอดด้วยคีม
ทารกแรกเกิดมีโอกาสได้รับบาดเจ็บจากการคลอโดยใช้คีม
Vacuum extraction
การทำคลอดโดยใช้เครื่องดูดสุญญากาศ โดยจะทำหน้าที่เสริมแรงแบ่งของผู้คลอด
ส่วนประกอบ
Vacumm cup
ภายใน Cup จะมีแผ่นโลหะ (Mental plate) และโซ๋โลหะ (Chain)
Traction bar หรือ Handle
Suction tube
เกย์วัดความดันสุญญากาศ
ข้อบ่งชี้
Uterine inertia
ความดันโลหิตสูง, โรคหัวใจ
Mild fetal asphyxia
Mild CPD
ศีรษะทารกไม่หุนตามกลไกการคลอดปกติ
ข้อห้าม
CPD
ทารกในครรภ์อยู่ในท่าผิดปกติ
ทารกในครรภ์อยู่ในภาวะวิกฤติที่ต้องช่วยให้คลอดโดยด่วน
ทารกในครรภ์เสียชีวิตแล้ว
ทารกคลอดก่อนกำหนด
มีการพลัดต่ำของสายสะดือ
Fetal distress โดยที่ปากมดลูกยังไม่เปิด
สภาวะที่เหมาะสม
ปากมดลูกเปิดหมด
ส่วนนำอยู่ในสภาวะที่เหมาะสม
ศีรษะทารกต้อง Deep engaged แล้ว
ไม่มีภาวะ CPD
ทารกในครรภ์ยังมีชีวิตอยู่
Membrane ruptured
ภาวะแทรกซ้อน
ด้านมารดา
มีการฉีกขาดของหนทางคลอด
Symphysis pubis แยก
กระทบกระเทือนต่อกระเพาะปัสสาวะ
เกิดการตกเลือด
ติดเชื้อ
แพ้ยาระงับความรู้สึก
ด้านทารก
Cephal hematoma
อาจจะมีเลือดอกที่จอตา
แรงกดที่ศีรษะเกิด Asphyxia
Facial Palsy
Auditory Organ
Pneumonia,Atelectasis
การพยาบาล
ซักประวัติ
ประวัติเกี่ยวกับอาการผิดปกติในการตั้งครรภ์และการ
คลอดครั้งก่อน
ตรวจร่างกาย
ตรวจทางหน้าท้อง
ตรวจช่องทางคลอด
ตรวจร่างกายทั่วไป
ประเมินสภาพทารกในครรภ์
ภาวะจิตสังคม
ประเมินความวิตกกังวลและหวาดกลัว
การตรวจพิเศษและการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Ultrasound
ตรวจความเข้มข้นของเลือดมารดา
ตรวจปัสสาวะเพื่อหา albumin และ sugar
Induction of labour
เป็นการทำให้มดลูกหดรัดตัวและปากมดลูกนุ่ม เพื่อให้การคลอดเกิดขึ้นก่อนที่จะมีการเริ่มต้นของการเจ็บ
ครรภ์เองตามธรรมชาติ ีจุดมุ่งหมายให้ผู้คลอดคลอดทางช่องคลอด
ข้อบ่งชี้
ด้านสูติศาสตร์
PIH
ภาวะครรภ์เกินกำหนด
DFIU
PROM
choroamnionitis
abruptio placenta
ทารกพิการแต่กำเนิดในครรภ์ที่ไม่สามารถมีชีวิตอยู่ได้
IUGR
oligohydramnios
hydrops fetalis
ด้านอายุรกรรม
โรคเบาหวาน
โรคไตเรื้อรัง
โรคความดันโลหิตสูงเรื้อรัง
ข้อห้าม
Placenta previa
vasa
previa
CPD
Previous c/s
เนื้องอกที่ขัดขวางช่องทางคลอด
Prolapsed cord
Fetal distress
Twins
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จในการชักนำการคลอด
การเปิดขยายของปากมดลูก
ความบางของปากมดลูก
ความนุ่มของปากมดลูก
ตำแหน่งของปากมดลูก
ระดับส่วนนำ
ถ้าคะแนนรวมน้อยกว่า 3 ถือว่าปากมดลูกอยู่ในสภาวะที่ไม่เหมาะสมต่อการชักนำคลอด
ถ้าคะแนนมากกว่า 7 ถือว่าปากมดลูกอยู่ในภาวะที่เหมาะสมต่อการชักนำการคลอด
ถ้าคะแนนมากกว่าหรือเท่ากับ 9 โอกาสที่จะประสบความสำเร็จสูง
ยาที่ใช้ในการชักนำกาคลอด
Prostaglandin E1
ข้อควรระวัง
คลื่นไส้-อาเจียน
ไข้, วิงเวียนศีรษะ
ถ่ายเหลว
มดลูกหดรัดตัวรุนแรง
Protaglandin E2
ข้อควรระวัง
ปวดศีรษะ
คลื่นไส้อาเจียน
มีไข้
ความดันโลหิตต่ำ
มดลูกหดรัดตัวรุนแรง
Oxytocin
นิยมใช้ในการ Augmentation
้ข้อควรระวัง
มดลูกหดรัดตัวมากเกินไป
คลื่นไส้อาเจียน
ปวดศีรษะ
ความดันโลหิตต่ำ
การพยาบาล
สังเกตลักษณะการหดรัดตัวของมดลูก
ตรวจสอบการหยดของ oxytocin ทุก 30 นาที
ฟัง FHS ทุก 15-30 นาที
ประเมินสัญญาณชีพ
ดูแลผู้คลอดให้ได้รับความสุขสบายทั้งร่างกายและจิตใจ
Cesarean Section
การผ่าตัดนำทารกออกทางหน้าท้อง
ชนิดการผ่าตัด
Classic cesarean
lower – segment cesarean
ข้อบ่งชี้
CPD
ท่าผิดปกติ เช่น ท่าขวาง
Total placenta previa
มะเร็งปากมดลูก
Fetal distress
Previous C/S
Antepartum hemorrhage
ยาระงับความรู้สึก
Spinal block
Epidural block
GA
การพยาบาล
ก่อนการผ่าตัด
อธิบายถึงขั้นตอนต่างๆ
เตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ให้พร้อม
ดูแลให้มารดา NPO
ตัดเตรียมความสะอาดบริเวณผิวหนังโดยการโกนขน
ทำการสวนคาสายปัสสาวะ
ดูแลให้มารดาได้รับสารน้้ำและยาก่อนการผ่าตัด
จองเลือด (1-2 unit)
ประเมิน V/S และเสียงหัวใจทารกเป็นระยะๆ
หลังการผ่าตัด
ประเมินสภาวะของมารดาหลังผ่าตัด
สังเกตอาการของการติดเชื้อบริเวณแผลผ่าตัด
ประเมิน V/S ทุก 30 นาที ใน 2 ชั่วโมงแรก
และทุก 1 ชั่วโมง ต่อๆ มาจนกว่าจะสม่ำเสมอ
ดูแลให้มารดาได้รับสารน้ำทางเส้นเลือด
กระตุ้นให้มารดามี carly ambulation
สังเกตและจดบันทึกปริมาณ ลักษณะสี ความขุ่น ใส ของปัสสาวะ
ดูแลให้มารดาในระยะหลังคลอดได้รับความสุขสบายทั่วๆ ไป
ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการผ่าตัดครั้งนี้แก่มารดาและครอบครัวมากที่สุด
ภาวะแทรกซ้อน
Infection
การเสียเลือด
การใช้ยาสลบ