Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Schizophrenia spectrum, นางสาวดารุณี คำปิว เลขที่ 22 ห้อง A ชั้นปีที่ 3,…
Schizophrenia spectrum
เป็นความผิดปกติของพฤติกรรมที่แสดงออกมาเป็นอาการโรคจิต ในทางจิตเวชศาสตร์ "อาการทางโรคจิต" จะหมายถึงอาการด้านใดด้านหนึ่งจาก 5 ด้าน ดังนี้
อาการด้านลบ (Negative symptoms) เป็นอาการที่พบได้บ่อยในโรคจิตเภท แต่จะพบไม่บ่อยในโรคจิตชนิดอื่น ๆ โดยอาการด้านลบที่พบได้บ่อย ได้แก่
-
-
-
-
-
-
อาการประสาทหลอน (Hallucination) คือ มีการรับรู้ทางระบบประสาทใด ๆ ซึ่งเกิดขึ้นโดยไม่มีสิ่งเร้า โดยส่วนใหญ่แล้วอาการหลอนที่มีความสำคัญทางคลินิกนั้นมักจะมีลักษณะที่ชัดเจนและผู้ป่วยมักจะไม่สามารถควบคุมอาการหลอนได้ อาการหลอนสามารถเกิดได้กับทุกระบบประสาท
-
-
พฤติกรรมการเคลื่อนไหวที่ผิดปกติหรือยุ่งเหยิงไม่เป็นระเบียบ (Grossly disorganized or abnormal motor behavior)
-
-
อาการหลงผิด (Delusion) คือ ความเชื่อใด ๆ ที่ไม่สามารถสั่นคลอนได้ แม้ว่าจะมีหลักฐานอย่างชัดเจนที่คัดค้าน ความเชื่อนั้น ๆ โดยอาการหลงผิดที่พบได้บ่อยมักมีเนื้อหาในลักษณะ ดังนี้
-
Nihilistic delusions : อาการหลงผิดที่เชื่อว่ามีสิ่งเลวร้ายหรือหายนะนั้นได้เกิดขึ้นกับตัวเอง หรือจะต้องเกิดขึ้นกับตัวเอง
Grandiose delusions : อาการหลงผิดที่เชื่อว่าตนเองมีความสามารถเหนือกว่าผู้อื่นอย่างมาก หรือเป็นคนสำคัญและมีชื่อเสียงอย่างมาก
-
Referential delusions : อาการหลงผิดที่เชื่อว่าท่าทาง คำพูดของบุคคลอื่น หรือสภาพแวดล้อมต่าง ๆ นั้นมีความหมายสื่อถึงตนเอง
-
-
Thought withdrawal : อาการหลงผิดที่เชื่อว่าความคิดของตนเองนั้นถูกทำให้หายไปโดยพลังอำนาจบางอย่าง เช่น อำนาจสวรรค์ดูดความคิดให้หายไป
Thought insertion : อาการหลงผิดที่เชื่อว่ามีพลังอำนาจบางอย่างใส่ความคิดที่ไม่ใช่ของตนเองเข้ามา เช่น มนุษย์ต่างดาวใส่ความคิดเข้ามาให้กระพริบตา
Thought Controlled : อาการหลงผิดที่เชื่อว่าพลังอำนาจบางอย่างควบคุมความคิด
และบงการให้ตนเคลื่อนไหวหรือคิดตามนั้น เช่น อำนาจบางอย่างสั่งให้ตนเองเดินไปตากผ้า
-
อาการและอาการแสดง
-
-
-
ผู้ป่วยโรค delusional disorder, schizoaffective disorder
-
-
-
ระบาดวิทยา
-
-
โรคจิตเภทสามารถรักษาให้หายขาดได้ด้วยวิธีการบำบัดที่มีประสิทธิภาพที่ประกอบไปด้วยการรักษาด้วยเภสัชบำบัดและจิตสังคมบำบัด เป็นต้น
-
พบผู้ป่วยโรคจิตเภทมากกว่าร้อยละ 50 ไม่ได้รับการรักษาพยาบาล และในจำนวนดังกล่าวร้อยละ 90 เป็นผู้ป่วยที่อยู่ในประเทศกำลังพัฒนา
การวินิจฉัยแยกโรค
-
Delusional disorder จะมีอาการหลงผิดเป็นอาการโรคจิตที่เด่นชัดเพียงอาการเดียว โดยพฤติกรรมต้องไม่แปลกประหลาด
Brief psychotic disorder จะมีอาการโรคจิตอย่างน้อย 1 อาการ อาการอาจจะรุนแรงได้มากถึงขั้นมีพฤติกรรมแปลกประหลาด แต่ต้องมีระยะเวลาการดำเนินโรคสั้นกว่า 1 เดือน
schizophreniform นั้นจะต้องมีอาการโรคจิตตั้งแต่ 2 ข้อขึ้นไปและมีระยะเวลาการดำเนินโรคอยู่ ระหว่าง 1-6 เดือน
โรคจิตเภทจะมีอาการเหมือน
schizophreniform แต่อาจพบอาการ ด้านลบได้บ่อยกว่าและมีระยะเวลาการด าเนินโรคที่นานกว่า 6 เดือน
การรักษา
-
-
-
Psychosocial treatment ได้แก่ อาชีวบำบัด (occupational therapy) ซึ่งจะช่วยให้ผู้ป่วยได้ฝึกฝนทักษะการทำงานเพื่อจะได้สามารถกลับไปทำงานและประกอบอาชีพได้อย่างต่อเนื่อง และการสอนทักษะทางสังคม (social skill training) ก็จะช่วยให้ผู้ป่วยสามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้ดี และสามารถเข้าสังคมได้อย่างมีประสิทธิภาพ
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-