Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผลกระทบต่อสุขภาพที่เกิดจากฝุ่น PM 2.5, นางสาว ปัณณิกา เผือกผ่อง 612901056,…
ผลกระทบต่อสุขภาพที่เกิดจากฝุ่น PM 2.5
PM2.5
ฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน 2.5 ไมครอน
เล็กจนขนจมูกของมนุษย์ที่ทำหน้าที่กรองฝุ่นนั้นเล็กจนขนจมูกของมนุษย์ที่ทำหน้าที่กรองฝุ่น
แพร่กระจายเข้าสู่ทางเดินหายใจ กระแสเลือด และเข้าสู่อวัยอื่นๆ
ตัวฝุ่นเป็นพาหะนำสารอื่นเข้า
แคดเมียม
ปรอท
โลหะหนัก
สารก่อมะเร็งอื่นๆ
สาเหตุ
แหล่งกำเนิดโดยตรง
การเผาในที่โล่ง
การคมนาคมขนส่ง
การผลิตไฟฟ้า
อุตสาหกรรมการผลิต
การรวมตัวของก๊าซอื่นๆ ในบรรยากาศ
ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2)
ออกไซด์ของไนโตรเจน (NOx)
รวมทั้งสารพิษอื่นๆ
ผลกระทบทางสุขภาพ
เกิดอาการไอ จาม หรือภูมิแพ้
ผู้ที่เป็นภูมิแพ้ฝุ่นอยู่แล้ว จะยิ่งถูกกระตุ้นให้เกิดอาการมากขึ้น
เกิดโรคทางเดินหายใจเรื้อรัง
เกิดโรคหลอดเลือดและหัวใจเรื้อรัง
เกิดโรคปอดเรื้อรัง หรือมะเร็งปอด
ผลกระทบทางผิวหนัง
มีผื่นคันตามตัว
ปวดแสบปวดร้อน มีอาการระคายเคือง
เป็นลมพิษถ้าเป็นหนักมากอาจเกิดลมพิษ
บริเวณใบหน้า
ข้อพับ
ขาหนีบ
ทำร้ายเซลล์ผิวหนัง
ทำให้ผิวอ่อนแอ
เหี่ยวย่นง่าย
การปฏิบัติตัว
สวมหน้ากากป้องกันฝุ่น
หน้ากากที่สามารถป้องกันฝุ่น PM2.5
หน้ากาก N95 ซึ่งมีราคาสูงกว่าหน้ากากอนามัย
งคนอาจสวมแล้วอาจให้ความรู้สึกอึดอัด
หายใจได้ลำบากกว่าปกติ
หากไม่ใช้หน้ากาก N95
ช้หน้ากากอนามัยที่มีฟิลเตอร์ 3 ชั้น
หน้ากากอนามัยธรรมดาแต่สวมทับ 2 ชั้น
ซ้อนผ้าเช็ดหน้าหรือทิชชูไว้ด้านใน
พยายามหลีกเลี่ยงกิจกรรมกลางแจ้งทุกชนิด
อากาศอยู่ในระดับที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
หากจำเป็นต้องใส่หน้ากากป้องกันฝุ่นละอองเมื่ออยู่ข้างนอกอาคาร
ใช้เครื่องฟอกอากาศ
ภายในอาคารอาจไม่ปลอดภัยจาก PM 2.5 เสมอไป
จึงเป็นสิ่งจำเป็นเพื่อให้หายใจในอาคารอย่างสบายใจ
สาระอื่น ๆ
ดัชนีคุณภาพอากาศ (Air Quality Index : AQI)
ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5)
ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน (PM10)
ก๊าซโอโซน (O3)
ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO)
ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2)
ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2)
นางสาว ปัณณิกา เผือกผ่อง 612901056
่
่